การกระจายอำนาจ คืออะไรความหมายของการกระจายอำนาจ• การถ่ายโอนอำนาจการตัด การแปล - การกระจายอำนาจ คืออะไรความหมายของการกระจายอำนาจ• การถ่ายโอนอำนาจการตัด อังกฤษ วิธีการพูด

การกระจายอำนาจ คืออะไรความหมายของกา

การกระจายอำนาจ คืออะไร
ความหมายของการกระจายอำนาจ
• การถ่ายโอนอำนาจการตัดสินใจ ทรัพยากร และภารกิจ จากภาครัฐส่วนกลาง ให้แก่องค์กรอื่นใด ไม่ว่าจะเป็นองค์กรภาครัฐส่วนภูมิภาค องค์กรอิสระ องค์กรท้องถิ่น องค์กรเอกชน โดยเฉพาะภาคประชาชน ไปดำเนินการแทน ซึ่งการถ่ายโอนดังกล่าว อาจจะมีลักษณะเป็นการถ่ายโอนเฉพาะภารกิจ ซึ่งเป็นการแบ่งภารกิจ ให้แก่องค์กรที่ได้รับการกระจายอำนาจดำเนินการ หรือ เป็นการถ่ายโอนโดยยึดพื้นที่เป็นหลัก ซึ่งเป็นการแบ่งพื้นที่เป็นหน่วยงานย่อยในการดำเนินการ
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการกระจาย
• การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในการบริหารจัดการบ้านเมืองของรัฐ ในระบบประชาธิปไตย โดยมุ่งลดบทบาทของรัฐส่วนกลาง(decentralize) ลงเหลือภารกิจหลักเท่าที่ต้องทำ เท่าที่จำเป็น และให้ประชาชนได้มีส่วนในการบริหารงานชุมชนท้องถิ่น ตามเจตนารมย์ของประชาชนมากขึ้น การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น จึงเป็นการจัดความสัมพันธ์ทางอำนาจ หน้าที่ใหม่ ระหว่างส่วนกลางกับส่วนท้องถิ่น ให้สอดคล้องกับสภาพการณ์บ้านเมือง ที่เปลี่ยนแปลงไปในสภาวะที่สังคมมีกลุ่มที่หลากหลาย มีความต้องการ และความคาดหวังจากรัฐที่เพิ่มขึ้น และแตกต่างกัน ขัดแย้งกัน ในขณะที่รัฐเองก็มีขีดความสามารถ และทรัพยากรที่จำกัด ในการตอบสนองปัญหา ความต้องการ ที่เกิดขึ้นในแต่ละท้องถิ่นได้ทันต่อเหตุการณ์ และตรงกับความต้องการของท้องถิ่น
• การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น เป็นการกระจายสิ่งต่อไปนี้ จากส่วนกลางให้กับท้องถิ่น
o หน้าที่ เป็นการกระจายหน้าที่ ที่เป็นประโยชน์โดยตรงกับท้องถิ่น ให้ท้องถิ่นรับผิดชอบดำเนินการเอง
o อำนาจการตัดสินใจ เป็นการกระจายอำนาจการตัดสินใจดำเนินการ ตามหน้าที่ ที่ส่วนกลางกระจายไปให้ท้องถิ่นดำเนินการ
o ทรัพยากรการบริหาร เป็นการกระจายบุคลากร งบประมาณ เทคโนโลยี ที่เหมาะสม ให้กับท้องถิ่น
o ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เป็นการกระจายความรับผิดชอบต่อภารกิจ หน้าที่ ที่รัฐกับผู้บริหารท้องถิ่น และประชาชน ร่วมกันรับผิดชอบ
o ความพร้อม เป็นการกระจายความพร้อม ที่มีอยู่ในส่วนกลางให้กับท้องถิ่น เพื่อสร้างขีดความสามารถให้แก่ท้องถิ่น เป็นการทำให้ท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ


เป้าหมายของการกระจายอำนาจ
• เพื่อให้บริการต่างๆ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนมากขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีการถ่ายโอนภารกิจ เป็นเครื่องมือหนึ่งในการดำเนินการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว รูปแบบการกระจายอำนาจ การจัดบริการสาธารณะ จึงไม่ควรจำกัดอยู่ที่การโอนภารกิจแต่เพียงอย่างเดียว แต่ควรให้ความสำคัญกับรูปแบบที่สามารถตอบสนอง ต่อวัตถุประสงค์ทั้งสองประการเป็นหลัก
• พึงระลึกว่า " การกระจายอำนาจ" ไม่ใช่เครื่องมือวิเศษ ที่จะสามารถแก้ไขปัญหาทุกปัญหาได้ เพราะ การกระจายอำนาจ อาจก่อให้เกิดปัญหา ความไม่เท่าเทียมกัน ที่เกิดจากระดับการพัฒนา ที่แตกต่างกัน ของแต่ละพื้นที่ การขาดผู้บริหารที่มีความสามารถเพียงพอ ที่จะรองรับระบบที่มีการกระจายอำนาจได้
ประเภทของการกระจายอำนาจ
1. การมอบอำนาจการตัดสินใจด้านการบริหารจัดการจากส่วนกลางสู่ภูมิภาค
2. การมอบอำนาจหน้าที่ให้แก่องค์กรกึ่งรัฐ ที่เป็นอิสระ ภายใต้การกำกับจากภาครัฐ
3. การกระจายอำนาจการปกครองให้แก่รัฐบาลส่วนท้องถิ่น
4. การมอบหน้าที่ให้แก่องค์กร หรือ หน่วยงานเอกชน
5. การสร้างให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ทำไมต้องมีการกระจายอำนาจ
1. เพื่อให้การดำเนินงานของรัฐ มีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดขั้นตอนการดำเนินการ อันเนื่องจากการล่าช้าในการตัดสินใจจากส่วนกลาง
2. เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนได้อย่างแท้จริง
3. เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

การกระจายอำนาจสู่สถานศึกษา
มาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2545 บัญญัติให้กระทรวงศึกษาธิการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง ทั้งนี้หลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง จึงทำให้กระทรวงศึกษาธิการจำเป็นต้องออกกฎกระทรวง ว่าด้วยการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2550 และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้องออกประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปยังคณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2550 โดยมีการจัดอบรมครูไปเมื่อเดือนเมษายน-พฤษภาคมที่ผ่านมาในหลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจสำหรับครู ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารการศึกษา ขึ้น โดยกำหนดหลักเกณฑ์ในการกำหนดประเภทของสถานศึกษาโดยระยะแรกได้แบ่งสถานศึกษาที่รองรับการกระจายอำนาจเป็น 2 ประเภท
สถานศึกษาประเภทที่ 1 จำนวน 609 แห่ง ได้แก่สถานศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนตั้งแต่ 500 คนขึ้นไป หรือโรงเรียนและศูนย์การศึกษาพิเศษและมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาได้มาตรฐานจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) โดยหมายถึง สถานศึกษาได้มาตรฐานตามเกณฑ์การประเมินจาก สมศ. รอบแรก อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยนของผลการประเมินทั้ง 14 มาตรฐาน มากกว่า 2.50 และไม่มีมาตรฐานใดอยู่ในระดับปรับปรุง หรือได้มาตรฐานรอบที่ 2 (พ.ศ. 2549-2553) ระดับดี หมายถึง มีค่าเฉลี่ยผลประเมินทั้ง 14 มาตรฐานมากกว่าหรือกับ 2.75 ขึ้นไป และได้มาตรฐานระดับดี 11 มาตรฐานขึ้นไป ไม่มีมาตรฐานใดอยู่ในระดับปรับปรุง ส่วนสถานศึกษาประเภทที่ 2 ได้แก่สถานศึกษาที่ไม่เข้าข่ายการเป็นสถานศึกษาประเภทที่ 1
จากที่กล่าวมาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดพิมพ์แนวทางการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาให้คณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและจัดการศึกษา พ.ศ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
What is a power distribution?Means of empowering• To transfer the power to make decisions, resources, and tasks from the central government organizations. Whether it is an independent organization, regional organization, State organizations, local NGOs, especially the public sector to act where such transfer may be transferred only with the mission, which is to divide the tasks given to an organization that is empowering, or is transferred by a parent, which is based on the area is divided into sub-divisions in the area of operations.Basic concepts about the explosion.• Decentralized to local management as a strategic one in the home city of the State. In a democratic system, focusing on the role of the State in the global reduction (decentralize) Down the rest of the main task to do as required, and to the people involved in the administration of the local community based on the intent of the public insists, more. Decentralized to local procurement is bestowed a new relation. Between global and local partnerships, in accordance with the changing situation in the country at the various groups of society. There are requirements and expectations from the Government and different conflicts. While the Government has limited resources and capabilities to respond to the problem. Needs to occur in each local event. and meets the needs of the locality.• Decentralized to local distribution is the following: from global to local. O a distributions will benefit directly to local, local, responsible action themselves.O the power of decision is decentralized decision making action officer at klangkrachai, a local operation.O administrative resources are distributed to appropriate personnel, budgets, technology to local.O responsible to act as distributing responsibility for the task. The local government executives and the people responsible.O a distributions readiness assessments that exist in local to global to build local capabilities to make a make a local strength can be managed effectively. The goal of distributing power.• To provide services to meet the needs of the greater community. More efficient, with the transfer of the mission as one tool in action to achieve those goals. Model of decentralized public services delivery, so should not be limited to the transfer of the mission but only but should also give priority to a format that can meet the. Both objective reasons are plugged main.• Keep in mind that the "power distribution" is not a magic tool that will solve the problem every issue because of the power distribution may be causing the problem. Inequality arising from different levels of development of each area. The lack of management capability, sufficient to accommodate a system that is empowering.What kind of power distribution1. the authority deciding centralized management to the region.2. granting authority to an independent State, centered under the supervision from the Government.3. decentralized governance, local government4. the assignment of duties to organizations or agencies.5. create, people. To participate in the decision.Why do we need distributed power.1. to make the operation of the State. More efficient. Discount procedure Due to the delay in the decision on2. in order to meet the requirements of a true community.3. to allow people to participate in the decision. Power distribution to the educational มาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2545 บัญญัติให้กระทรวงศึกษาธิการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง ทั้งนี้หลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง จึงทำให้กระทรวงศึกษาธิการจำเป็นต้องออกกฎกระทรวง ว่าด้วยการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2550 และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้องออกประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปยังคณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2550 โดยมีการจัดอบรมครูไปเมื่อเดือนเมษายน-พฤษภาคมที่ผ่านมาในหลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจสำหรับครู ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารการศึกษา ขึ้น โดยกำหนดหลักเกณฑ์ในการกำหนดประเภทของสถานศึกษาโดยระยะแรกได้แบ่งสถานศึกษาที่รองรับการกระจายอำนาจเป็น 2 ประเภท สถานศึกษาประเภทที่ 1 จำนวน 609 แห่ง ได้แก่สถานศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนตั้งแต่ 500 คนขึ้นไป หรือโรงเรียนและศูนย์การศึกษาพิเศษและมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาได้มาตรฐานจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) โดยหมายถึง สถานศึกษาได้มาตรฐานตามเกณฑ์การประเมินจาก สมศ. รอบแรก อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยนของผลการประเมินทั้ง 14 มาตรฐาน มากกว่า 2.50 และไม่มีมาตรฐานใดอยู่ในระดับปรับปรุง หรือได้มาตรฐานรอบที่ 2 (พ.ศ. 2549-2553) ระดับดี หมายถึง มีค่าเฉลี่ยผลประเมินทั้ง 14 มาตรฐานมากกว่าหรือกับ 2.75 ขึ้นไป และได้มาตรฐานระดับดี 11 มาตรฐานขึ้นไป ไม่มีมาตรฐานใดอยู่ในระดับปรับปรุง ส่วนสถานศึกษาประเภทที่ 2 ได้แก่สถานศึกษาที่ไม่เข้าข่ายการเป็นสถานศึกษาประเภทที่ 1 From the Office of the Basic Education Commission has published guidelines for management of power distribution and management of education, the Board of Directors. Area offices and the Ministry of education, according to the rules, guidelines and how to distribute the power to manage and administer education Wed Fri.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Decentralization, what is the meaning of decentralization

.- transfer decision making power, resources, and the mission from central government to the enterprise, any other. Whether the government authority. An independent, local organizations, private enterprise, especially the public sector to proceed instead.There may be a specific mission, which is divided into transfer mission. For organizations that have been decentralized operations or transferring the areas as principle. Which is divided into areas as units in operation
.Basic concepts about distributed
.Education decentralization to local As a strategic management in the country of the state in a democracy. With the aim to reduce the role of the central government (decentralize). Down to the main mission as to do as little as possible.According to the wishes of the people. Decentralization, local It is the duty of new power relations between center and local. In accordance with the current affairs.Needs and expectations from the state increase and different, conflicting, while the state also has the capability and resources limited. In response to the needs arising in each local time on the event.Education decentralization to local It is distributed in. From global to local
o function distributions functions useful directly to the local. Responsible for local operations
.O decision making power. It is decentralized decision process for duty at central scattered to the local operation
O resource management. The distribution of personnel, budget, technology suitable to local
.O responsibility. A distributed responsibility for the mission and duty with the State Administration and local people responsible for
.O readiness distributions contained in the central readiness to local. To capacity building for local. It is the local strength. Manage local effectively


.The goal of the decentralization
.- to provide various services. Can meet the needs of the community more and more efficient by a transfer mission. As a tool in the operation. To achieve such a model of decentralization.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: