เดวิด ฮูม (26 เมษายน ค.ศ. 1711 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1776) เป็นนักปรัชญาแล การแปล - เดวิด ฮูม (26 เมษายน ค.ศ. 1711 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1776) เป็นนักปรัชญาแล อังกฤษ วิธีการพูด

เดวิด ฮูม (26 เมษายน ค.ศ. 1711 – 25

เดวิด ฮูม (26 เมษายน ค.ศ. 1711 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1776) เป็นนักปรัชญาและนักประวัติศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ และเป็นบุคคลสำคัญที่สุดคนหนึ่งในยุคสว่างของสก็อตแลนด์ เดวิด ฮูม ได้ท้าทายความเชื่อของบรรดานักทฤษฎีสิทธิธรรมชาติ และกฎธรรมชาตินิยมไว้อย่างน่าฟังในบทเขียน เรื่อง Treatise of Human Nature ความน่าฟังนั้นอยู่ที่ว่าสิทธิธรรมชาติและกฎธรรมชาติที่พูดกันและอ้างกันอยู่บ่อยเสมอนั้น เป็นหลักการอันเกิดจาก การคิดเอาเอง มากกว่าจะเป็นเรื่องหรือสิ่งที่เป็นตัวตนอยู่ การคิดเอาเองนี้นำไปสู่การเชื่อมโยงในเรื่องหลักมาตรฐานทางศีลธรรมซึ่งถือว่า มาตรฐานทางศีลธรรมนั้นมีอยู่แล้วโดยการค้นพบได้ด้วยหลักเหตุผล ซึ่งหลักเหตุและผลนี้เป็นสิ่งเดียวที่บรรดานักกฎธรรมชาตินิยมหรือสำนักสภาวะธรรมชาติ เห็นว่าเป็นเครื่องชี้ทางไปสู่การประพฤติอันเหมาะสมของมวลมนุษย์ แต่สำหรับฮูมแล้วกลับเห็นในทางขัดแย้งและเป็นตรงข้ามเขาเห็นว่าความรู้สึก ต่างหากที่กำหนดคุณค่าการกระทำของมนุษย์ เหตุผลอาจช่วยนำการกระทำให้ไปสู่บรรลุผลแห่งคุณค่าได้เช่นกัน แต่บทบาทของเหตุผลยังเป็นรอง เพราะในทัศนะของฮูมนั้น เหตุผลเป็น “ทาสของอารมณ์” เมื่อถึงทัศนะในตอนนี้ของฮูม ทำให้ “เหตุกับผล” ที่มักจะถูกอ้างนำมาใช้ในการถกปัญหาในประเด็นทางการเมืองหรือแม้แต่ประเด็นอื่นๆ ได้รับการท้าทายและชวนให้ใคร่ครวญถึงความถูกต้องอย่างแท้จริงต่อไป ฮูมเห็นว่าแทนที่จะเป็นเรื่องของเหตุผลที่จะกำหนดคุณค่าการกระทำของมนุษย์ ประสบการณ์ ต่างหากที่จะแสดงให้เห็นว่าคนจะได้รับความพอใจได้อย่างไร ประสบการณ์จะเป็นเครื่องกำหนดว่าอะไรถูกหรืออะไรผิด อะไรควรหลีกเลี่ยงหรืออะไรควรรีบรับ ส่วนกฎธรรมชาตินั้นเป็นเรื่องที่ “นั่งคิด” ขึ้นมาและเป็นเพียงนามธรรมเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ฮูมไม่ได้ปฏิเสธในเรื่องคุณค่า แต่ในทางตรงกันข้ามเขาเชื่อว่ามีหลักมาตรฐานสากลเกี่ยวกับความประพฤติทางสังคม แต่ฮูมย้ำว่า หลักมาตรฐานเหล่านั้นเกิดขึ้นด้วยประสบการณ์ไม่ใช่ด้วยเหตุผลนามธรรม



0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เดวิด ฮูม (26 เมษายน ค.ศ. 1711 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1776) เป็นนักปรัชญาและนักประวัติศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ และเป็นบุคคลสำคัญที่สุดคนหนึ่งในยุคสว่างของสก็อตแลนด์ เดวิด ฮูม ได้ท้าทายความเชื่อของบรรดานักทฤษฎีสิทธิธรรมชาติ และกฎธรรมชาตินิยมไว้อย่างน่าฟังในบทเขียน เรื่อง Treatise of Human Nature ความน่าฟังนั้นอยู่ที่ว่าสิทธิธรรมชาติและกฎธรรมชาติที่พูดกันและอ้างกันอยู่บ่อยเสมอนั้น เป็นหลักการอันเกิดจาก การคิดเอาเอง มากกว่าจะเป็นเรื่องหรือสิ่งที่เป็นตัวตนอยู่ การคิดเอาเองนี้นำไปสู่การเชื่อมโยงในเรื่องหลักมาตรฐานทางศีลธรรมซึ่งถือว่า มาตรฐานทางศีลธรรมนั้นมีอยู่แล้วโดยการค้นพบได้ด้วยหลักเหตุผล ซึ่งหลักเหตุและผลนี้เป็นสิ่งเดียวที่บรรดานักกฎธรรมชาตินิยมหรือสำนักสภาวะธรรมชาติ เห็นว่าเป็นเครื่องชี้ทางไปสู่การประพฤติอันเหมาะสมของมวลมนุษย์ แต่สำหรับฮูมแล้วกลับเห็นในทางขัดแย้งและเป็นตรงข้ามเขาเห็นว่าความรู้สึก ต่างหากที่กำหนดคุณค่าการกระทำของมนุษย์ เหตุผลอาจช่วยนำการกระทำให้ไปสู่บรรลุผลแห่งคุณค่าได้เช่นกัน แต่บทบาทของเหตุผลยังเป็นรอง เพราะในทัศนะของฮูมนั้น เหตุผลเป็น “ทาสของอารมณ์” เมื่อถึงทัศนะในตอนนี้ของฮูม ทำให้ “เหตุกับผล” ที่มักจะถูกอ้างนำมาใช้ในการถกปัญหาในประเด็นทางการเมืองหรือแม้แต่ประเด็นอื่นๆ ได้รับการท้าทายและชวนให้ใคร่ครวญถึงความถูกต้องอย่างแท้จริงต่อไป ฮูมเห็นว่าแทนที่จะเป็นเรื่องของเหตุผลที่จะกำหนดคุณค่าการกระทำของมนุษย์ ประสบการณ์ ต่างหากที่จะแสดงให้เห็นว่าคนจะได้รับความพอใจได้อย่างไร ประสบการณ์จะเป็นเครื่องกำหนดว่าอะไรถูกหรืออะไรผิด อะไรควรหลีกเลี่ยงหรืออะไรควรรีบรับ ส่วนกฎธรรมชาตินั้นเป็นเรื่องที่ “นั่งคิด” ขึ้นมาและเป็นเพียงนามธรรมเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ฮูมไม่ได้ปฏิเสธในเรื่องคุณค่า แต่ในทางตรงกันข้ามเขาเชื่อว่ามีหลักมาตรฐานสากลเกี่ยวกับความประพฤติทางสังคม แต่ฮูมย้ำว่า หลักมาตรฐานเหล่านั้นเกิดขึ้นด้วยประสบการณ์ไม่ใช่ด้วยเหตุผลนามธรรม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
David Hume (26 April 1711-25 August 1776) was a philosopher and historian of Scotland. And is one of the most important people in the light of Scotland David Hume challenged the belief of natural rights theorists. The most eloquent and natural law written in the script Treatise of Human Nature is the most listened to nature and natural law that the right to speak and are often cited is always there. The principle is due to assume more than it is, or what is existed. To assume this leads to a link in which the main subject moral standards. The moral standards that have already been discovered by reason. The main reason for this result is the only popular among natural law or natural state Bureau. That as guidance to the proper conduct of the human condition. But for Hume came seeing in the conflict and opposed his feelings. A given value of human action. The reason may bring an action to achieve results of value as well. But why has the role of vice In Hume's view, the reason being "slaves of emotions" at the Symposium on Hume's now a "cause and effect" is often used to refer to discussions on political issues or other issues. Has been challenged and invited to reflect on the truly correct further. Hume is that instead of reason to determine the value of a human experience to show that people will be satisfied, however. Experience will determine what is right or what is wrong. What should be avoided or what you should get. The natural law is that "thinking" is up and it's just a concept, however, Hume does not deny the value. On the contrary, he believed that the international standard on social behavior, but Hume emphasized that those standards caused by experience, not by abstract reasoning.



การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
David Hume (26 April 2010. 1711 - 25 August ad1776) is a Scottish philosopher and historian. And the most important one in the light of the Scottish David Hume, challenge the belief of the theory of natural rights. Natural law and usually euphonic in the writing.Treatise of Human Nature the interesting is that natural law and natural rights that talk and claim are often always is caused by the principle. Thinking over will be or what is the identity.Moral standard that already by the discovery by the main reason. The main cause and effect, this is the only thing that the liberal natural law or the state of nature.But for Hume and sees in the conflict and the opposite him that feeling. Who determines the value to human activities. The reason may help to achieve the action of value as well. But the role of reason is inferior.The reason is the "slave of emotion." when the view now of Hume. "The result." often is cited used in discussion in political issues or even other issues.Hume that instead of all of the reasons to define value human action, experience the if to show that people have been satisfied? The experience will determine what is right or wrong.The natural law that is "thinking", and it is the only abstract. However, Hume has declined in value. But on the contrary, he is believed to have main international standards about social behaviourThose standards occurs with experience is not the main reason Abstract
.


.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: