"We are trying to fight for a change in management structure in every area, not just the bowin. Now we have to go out to survey the pond scum in the different areas, we we were worried about the pond loop, video nalaeo else they know, even though it expanded the pond Villa namai. He wants to expand elsewhere. Therefore, we must hasten to change the country's waste management structure. "Subsequently, smuggling point survey thiwa has left the industry over waste. 15 provinces, with support from the National Health Foundation, and the Office of an Ombudsman to collect data for the development of a proposal to bring the policy in cooperation with the Working Group in the project areas that are affected by industrial waste. With the goal is to push the industrial waste management policy occurs in the future. "The exploration we found problems with some work. Problems at all to turn back people who want to help each other manage. Another example is that we found that the countries with which Thailand Bo landfill garbage is not sufficient to accommodate all waste a lot of. Cause problems with industrial waste waste to smuggle up to which the responsible authority must hasten to come in this matter. "The thiwa keynote during trips to explore is not all that the community will have the strength and courage to fight against the spam problem, virtually the same as bowin. "Most people have not fought virtually because fear that intimidation is a dark influence locally."And from the repository, the project working group and thiwa. A summary of the results management structure problem of industrial waste a good international. There are two main messages must be managed is 1.0) garbage landfill pond contributions 1 pond 1 industrial estate and the Government allocated 2.0), the conversion of land to accommodate the waste of factories outside industrial estates. Such a proposal arise when there are currently 2557 year and the progress in handling that little proposal by thiwa punishments allocated garbage landfill pond 1 pond 1 industrial estate. Not serious, but there is a push to talk about allocation of the various waste ponds in the district. The Government allocated land to convert the factory to accommodate the garbage outside the estates. The Government has created a project to convert power plant waste into energy. But people in many areas did not accept this concept has been assembled to protest continued seeing each other frequently.ดร.สมนึก จงมีวศิน นักวิชาการอิสระ หนึ่งในคณะทำงานโครงการสำรวจพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากขยะอุตสาหกรรมที่ทำงานร่วมกับทิวา และตัวแทนเครือข่ายประชาชนศึกษาและติดตามปัญหาขยะ ได้เล่าเสริมถึงประเด็นการจัดการขยะแห่งชาติว่า เดิมทีรัฐบาลจากคณะรักษาความมั่นคงแห่งชาติ (คสช.) ได้มีแนวคิดที่จะนำขยะไปเผา เหมือนเช่นที่ได้มีการศึกษากรณีตัวอย่างในประเทศต่างๆ เช่น สวีเดน เดนมาร์ก และญี่ปุ่น แต่ประเทศเหล่านั้นมีกฎหมายและกระบวนการคัดแยกขยะอย่างจริงจัง อีกทั้งยังมีเกณฑ์ในการเลือกขยะที่จะนำเข้ามาเผา แต่ประเทศไทยเรายังไม่มีการคัดแยกขยะที่ได้มาตรฐาน กรมควบคุมมลพิษจึงได้เปลี่ยนวิธีการ เป็นการนำขยะไปทำเป็น RDF (แท่งเชื้อเพลิง) แต่อย่างไรก็ตาม ก็ต้องมีการเผา RDF อยู่ดี ดังนั้นเพื่อให้สามารถจัดการเรื่องนี้ได้โดยเร็ว จึงได้มีการยกเลิกการทำ EIA โรงไฟฟ้าขยะ และเปลี่ยนไปทำ CODE OF PRACTICE (COP) แทน ซึ่งข้อสังเกตที่ต้องลงรายละเอียด เช่น EIA จัดให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชน แต่ COP ขาดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน และ EIA มีการประเมินผลกระทบทั้งเรื่องสิ่งแวดล้อม คน ชุมชน แต่ COP ไม่มีการประเมินผลกระทบใดๆ มีเพียงการชี้แจงการจัดการมลสารเท่านั้น จากสถานการณ์นี้หลายพื้นที่เริ่มมีความกังวลเกี่ยวกับการสร้างโรงไฟฟ้าขยะชุมชนขนาดใหญ่กว่า 20 MW ที่กำลังจะเกิดขึ้นเป็นอย่างมาก เพราะเป็นห่วงว่าจะไม่มีการดำเนินการเพื่อลดปริมาณขยะ และไม่มีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง เนื่องจากใน COP ไม่มีข้อกำหนดในเรื่องเถ้าหนัก (ที่มีจำนวนมาก) และเถ้าเบา (ที่มีความอันตราย) ว่าจะถูกส่งไปฝังกลบที่ไหน และผลประโยชน์บางอย่างจากการส่งขยะในปริมาณมากจะเป็นแรงจูงใจกับผู้ที่เกี่ยวข้อง พร้อมด้วยผลกระทบทางด้านสุขภาพของคนในพื้นที่ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคตอีกด้วยอีกทั้งโครงการนี้เท่ากับส่งเสริมให้ผู้บริโภคเกิดความมักง่ายมากยิ่งขึ้น มีการทิ้งขยะมากขึ้น ที่สำคัญคือชาวบ้านจะไม่มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นได้อีกต่อไป เนื่องจากCOP ไม่มีกระบวนการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนรอบพื้นที่มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น แนวทางการแก้ไขปัญหา นักวิชาการ ภาคประชาชน และภาคประชาสังคม ได้มีความเห็นต่อเรื่องนี้ว่า ควรมีการแก้ไขปัญหาในระยะยาวเพื่อให้เกิดการจัดการขยะอย่างยั่งยืน เช่น การกำหนดให้โรงไฟฟ้าขยะทุกขนาดต้องจัดทำรายงาน EIA การรณรงค์ให้เกิดการคัดแยกขยะ และการติดตามการจัดการกับไดออกซิน ส่วนการแก้ไขปัญหาระยะเร่งด่วนที่ต้องทำคือ การคัดค้านการลดมาตรการทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ไม่คุ้มครองทั้งสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของผู้คน ในประกาศของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม “การจัดการขยะด้วยวิธีการใช้เตาเผาเป็นการจัดการปัญหาที่ปลายเหตุ เราต้องหันกลับมาช่วยกันแก้ที่ต้นตอด้วยการต้องลดการทิ้งขยะให้มากที่สุด เน้นส่งเสริมประชาชนในพื้นที่ต่างๆ ให้มีการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ซึ่งขยะชุมชนส่วนใหญ่จะสามารถนำกลับไปใช้ใหม่ได้ 90% ดังนั้นจะเหลือเพียง 10 % เท่านั้นที่ต้องหาทางกำจัด ถ้าขยะน้อยเราก็จะสามารถจัดการกับปัญหาขยะได้ง่าย ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและประชาชนรอบข้างก็จะน้อยตามไปด้วย ดังนั้นทุกหน่วยงานต้องเร่งส่งเสริมให้ประชาชนมีการคัดแยกขยะ เพราะเป็นวิธีที่เกิดผลกระทบน้อยที่สุด” ในวันนี้ทิวาได้วางมือจากการขับเคลื่อนในงานขยะอุตสาหกรรม หันมาจับงานขยะชุมชนด้วยการชักชวนชาวบ้านหมู่ 8 ตำบลสามพี่น้อง อำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี ให้มาร่วมกันสร้าง “ชุมชนแห่งการคัดแยกขยะ” โดยหวังเพียงว่าพื้นที่แห่งนี้จะกลายเป็นแหล่งให้เขาได้เรียนรู้วิธีการจัดการขยะในชุมชนผ่านการลงมือทำจริง เพื่อนำไปสู่การผลักดันในวงกว้างต่อไป
การแปล กรุณารอสักครู่..