During 1864-1920-Max Weber (Max Weber) is a critical organization theory, foundations, particularly the concept on development of the efficient operation of a large organization (Bureaucracy) is considered as the ideal form of Organization (The Ideal form of Organization) to this theory, the most famous in the Decade of the 1800s, the theory development section arising from the problems of the organization that management often love to bring "political system, or system of patronage (Favoritism)" into the Organization's management and problem management system "subjective evaluations (Subjectivity) to overwhelming success as a habit (Object object.Ivity) of such systems to grow together and arrive. "The industrial revolution mod (Industrial Revolution)", and clearly showed that the use of a system of foster. Contribute to the performance (Inefficiency) Weber, thus presenting the concept on the development of performance. Called "management theory, large organization (Bureaucracy)," a theory of organization that have a judgement (rational) and is an alternative that leads to the development of the performance (Efficiency).ส่วนประกอบทางความคิดของระบบราชการของเวเบอร์ 1.แนวคิดเกี่ยวกับองค์กรประกอบด้วย1.1 ผู้นำหรือกลุ่มผู้นำ1.2 เจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อทำงานตามหน้าที่1.3 สมาชิกขององค์กรอื่นๆที่เหลือ2. แนวคิดเกี่ยวกับอำนาจอำนาจหน้าที่ ( Authority ) ต้องแยกออกจากอำนาจ ( Power ) เพราะอำนาจหน้าที่เป็นอำนาจหน้าที่เป็นอำนาจความชอบธรรมในการสั่งการที่ไม่ขึ้นกับตัวบุคคลเวเบอร์แบ่งอำนาจเป็น 3 ประเภท คือ1. อำนาจบารมี ( Charismatic Authority) มาจากลักษณะส่วนตัวของบุคคลที่เหนือกว่าคนอื่น2. อำนาจประเพณี ( Traditional Authority ) เป็นการสืบทอดอำนาจกันมา3. อำนาจตามกฎหมาย ( Legal Authority ) เป็นอำนาจที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ผู้บังคับบัญชา และผู้ใต้บังคบบัญชา3. แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบในอุดมคติตามทรรศนะของเวเบอร์เห็นว่าใช้เหตุผลตามกฎหมายเป็นเหตุผลที่ดีที่สุดแนวคิดและหลักการของ “ระบบราชการ”มีการแบ่งงานกันทำตามแนวราบ ( Horizontal Delegation) ทำให้กระบวนการทำงานในองค์การทั้งระบบมีผู้รับผิดชอบ และมีการแบ่งงานกันทำเพื่อให้เกิดความชำนาญเฉพาะอย่าง องค์การนั้นๆต้องมีสายบังคับบัญชาตามลำดับชั้น ( Authority Hierarchy ) : โดยสำนักงานและตำแหน่งงานที่อยู่ใต้หน่วยงาน หรือ ตำแหน่งงานนั้นอยู่ใต้การดูแลในระดับสูงขึ้นไประบบคัดเลือกคนงาน ( Formal Selection ) : ผู้ที่เข้าร่วมในหน่วยงานจะถูกคัดเลือกตามความสามารถและคุณสมบัติ ที่มีระบบการคัดเลือกและการสอบคัดเลือกอย่างเป็นทางการมีการยึดหลักกฎหมายและบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ( Evidence and Reference )องค์การต้องมีระเบียบ และกฎเกณฑ์ ( Formal Rules and Regulations ) : ทั้งนี้เพื่อให้สามารถประกันความเป็นเอกภาพในการดำเนินการ และกำกับการทำงานของพนักงานความไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ( Impersonality ) : ไม่มีการถือเอาสายสัมพันธ์ในครอบครัวเป็นใหญ่ ไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ถ้าจะทำอะไรต้องเป็นไปตามเกณฑ์การแยกระบบการทำงานออกเป็นสายอาชีพ ( Career Orientation ) : คนทำงานจะเข้าสู่ตำแหน่งตามความสามารถของแต่ละคน มีเลื่อนขั้น และการเติบโตในหน่วยงานได้ตามลำดับ
ข้อดีของ “ระบบราชการ”
-ลำดับขั้นการบังคับบัญชาเป็นเครื่องมือควบคุมสมาชิกและความสัมพันธ์ที่มี
ต่อกัน
-ไม่สับสนในบทบาท เพราะแต่ละคนรู้ว่าจะทำอะไรและสามารถตรวจสอบได้
-การมีกฎระเบียบทำให้รู้บทบาท ช่วยลดต้นทุนในการกำกับดูแล
-การทำงานขององค์การมีความแน่นอน มีลักษณะเป็นหลักฐานอ้างอิงได้
-มีการแบ่งแยกงานถือหลักความชำนาญเฉพาะด้าน
-กระบวนการทำงานในองค์การทั้งระบบมีผู้รับผิดชอบ
-ไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ทุกคนต้องทำตามกฎเกณฑ์ที่
วางไว้
ข้อเสียของ “ระบบราชการ”
-มีองค์การปฏิบัติงานกระจายอยู่ทั่วประเทศ ซึ่งเป็นเครือข่ายที่กว้างขวางซับซ้อน จนไม่อาจจัดระบบควบคุมตรวจสอบดุลพินิจใน การใช้อำนาจของข้าราชการทุกคนเป็นการเฉพาะรายได้
-ระเบียบข้อบังคับจำนวนมากนี้ได้สร้างความเคยชินกับ ข้าราชการว่าต้องเน้นความถูกต้องตามระเบียบมากกว่าประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน
-มีมาตรฐานการจ้างงานเพียงมาตรฐานเดียว ซึ่งทำให้ไม่สามารถจ่ายค่าตอบแทนได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับราคา
-เป็นระบบที่ยากที่จะทำลายได้ การไม่กล้าเปลี่ยนแปลงนี้สืบเนื่องมาจากคนไม่กล้าทำลายกฎระเบียบที่มีอยู่ เพราะอาจทำให้องค์กรแตกสลาย หรือนำไปสู่การเล่นพรรคเล่นพวก
-มีแนวโน้มที่จะผูกขาดข้อมูลข่าวสาร ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงและทำตัวเป็นเผด็จการ
Woodrow Wilson ประธานาธิบดี คนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกา เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ปี ค.ศ. 1919 บิดาแห่งรัฐประศาสนศาสตร์ เจ้าของบทความอันเลื่องชื่อ "The Study of Administration" เขียนไว้ในปี ค.ศ. 1887
การแปล กรุณารอสักครู่..