หลายคนยังมีความเชื่อ (แบบผิดๆ) ว่า grammar หรือเรื่องไวยากรณ์ภาษาอังกฤ การแปล - หลายคนยังมีความเชื่อ (แบบผิดๆ) ว่า grammar หรือเรื่องไวยากรณ์ภาษาอังกฤ อังกฤษ วิธีการพูด

หลายคนยังมีความเชื่อ (แบบผิดๆ) ว่า

หลายคนยังมีความเชื่อ (แบบผิดๆ) ว่า grammar หรือเรื่องไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ไม่ใช่เรื่องสำคัญ หลายคนจึงไม่รู้จัก Part of Speech (ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการเขียนประโยค) ไม่รู้จักสำนวนภาษาอังกฤษ (Idiom) ไม่เข้าใจเรื่องกาลเวลา หรือ Tense และคิดแต่เพียงว่า โครงสร้างประโยคมีแบบเดียวเท่านั้น คือ ประธาน + กริยา + กรรม แต่ข้อดีของคนไทย คือ การรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ เช่น is แปลว่า เป็น อยู่ คือ, have แปลว่า มี, do แปลว่า ทำ ,make ก็แปลว่า ทำ แต่ปัญหา คือ ไม่รู้ว่า make กับ do ใช้ต่างกันอย่างไร หรือ is ใช้ได้กี่แบบ
นอกจาก have แปลว่า มี ยังสามารถแปลว่า "ได้ทำมาแล้ว" ก็ได้ ดังนั้น แม้คนไทยจะรู้ความหมายของศัพท์ในระดับหนึ่ง แต่ไม่สามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ปัญหาที่สำคัญไปกว่านั้น คือ การนำ "คำศัพท์" ดังกล่าวไปผสมโรงเข้ากับ "โครงสร้างประโยคแบบไทยๆ" ที่คุ้นเคย โดยไม่ได้ตระหนักว่า การเขียนหรือการพูดภาษาไทย มันแตกต่างจากภาษาอังกฤษ เพราะในภาษาไทย ปกติเรามักจะพูดหรือเขียนแบบเรียงคำ ไม่ได้มีกฏตายตัวเกี่ยวกับโครงสร้างประโยค รวมทั้งไม่ได้มีการผัน verb ตามกาลเวลาเหมือนในภาษาอังกฤษ ลองดูตัวอย่างประโยคนี้ครับ ผม /ไม่ /อยาก/ไป/เรียน เวลาแปลประโยคนี้เป็นภาษาอังกฤษแบบ word for word คนไทยก็มักจะพูดว่า I not want to go study.แต่ประโยคนี้ผิดเต็มๆ แบบหมอไม่รับเย็บครับ จริงๆ เราควรจะพูดว่า I do not want to go to study. ทั้งนี้เพราะอะไรครับ ประโยคปฏิเสธในภาษาอังกฤษ (Negative) เราจะต้องใช้ "verb ช่วย" มานำหน้า "not" เสมอครับ (verb ช่วยมี 3 แบบ คือ verb to do, to have และ verb to be) อย่างที่ชื่อมันบอก มันเป็น verb ที่จะมา "ช่วย" เชื่อมประธานกับส่วนขยายของประโยคนั่นเองครับดังนั้นเราจำเป็นต้องท่อง ต้องจำหลักสำคัญให้ได้เสียก่อน คล้ายๆ กับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งเราก็ต้องจำสูตรเช่นกัน แต่พอเราเริ่มคล่อง ก็ไม่จำเป็นต้องมานั่งจำสูตรกันอีกต่อไป ปล่อยให้มันเป็นธรรมชาติไปเอง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Many people still believe (operation) that English syntax, grammar, or it is not an important Part of so many people is not recognized by the Speech (which is an important base to write a sentence.) English idioms is not recognized (Idiom) does not understand the passage of time or Tense and thought that sentence structure has only one verb is a verb subject + +, but the advantages of Thai people is to know the English terminology, translation is a translation that is there is, have, do, make, do mean that, but the problem is I don't know how to make do with using difference or is it just a. นอกจาก have แปลว่า มี ยังสามารถแปลว่า "ได้ทำมาแล้ว" ก็ได้ ดังนั้น แม้คนไทยจะรู้ความหมายของศัพท์ในระดับหนึ่ง แต่ไม่สามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ปัญหาที่สำคัญไปกว่านั้น คือ การนำ "คำศัพท์" ดังกล่าวไปผสมโรงเข้ากับ "โครงสร้างประโยคแบบไทยๆ" ที่คุ้นเคย โดยไม่ได้ตระหนักว่า การเขียนหรือการพูดภาษาไทย มันแตกต่างจากภาษาอังกฤษ เพราะในภาษาไทย ปกติเรามักจะพูดหรือเขียนแบบเรียงคำ ไม่ได้มีกฏตายตัวเกี่ยวกับโครงสร้างประโยค รวมทั้งไม่ได้มีการผัน verb ตามกาลเวลาเหมือนในภาษาอังกฤษ ลองดูตัวอย่างประโยคนี้ครับ ผม /ไม่ /อยาก/ไป/เรียน เวลาแปลประโยคนี้เป็นภาษาอังกฤษแบบ word for word คนไทยก็มักจะพูดว่า I not want to go study.แต่ประโยคนี้ผิดเต็มๆ แบบหมอไม่รับเย็บครับ จริงๆ เราควรจะพูดว่า I do not want to go to study. ทั้งนี้เพราะอะไรครับ ประโยคปฏิเสธในภาษาอังกฤษ (Negative) เราจะต้องใช้ "verb ช่วย" มานำหน้า "not" เสมอครับ (verb ช่วยมี 3 แบบ คือ verb to do, to have และ verb to be) อย่างที่ชื่อมันบอก มันเป็น verb ที่จะมา "ช่วย" เชื่อมประธานกับส่วนขยายของประโยคนั่นเองครับดังนั้นเราจำเป็นต้องท่อง ต้องจำหลักสำคัญให้ได้เสียก่อน คล้ายๆ กับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งเราก็ต้องจำสูตรเช่นกัน แต่พอเราเริ่มคล่อง ก็ไม่จำเป็นต้องมานั่งจำสูตรกันอีกต่อไป ปล่อยให้มันเป็นธรรมชาติไปเอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
หลายคนยังมีความเชื่อ (แบบผิดๆ) ว่า grammar หรือเรื่องไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ไม่ใช่เรื่องสำคัญ หลายคนจึงไม่รู้จัก Part of Speech (ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการเขียนประโยค) ไม่รู้จักสำนวนภาษาอังกฤษ (Idiom) ไม่เข้าใจเรื่องกาลเวลา หรือ Tense และคิดแต่เพียงว่า โครงสร้างประโยคมีแบบเดียวเท่านั้น คือ ประธาน + กริยา + กรรม แต่ข้อดีของคนไทย คือ การรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ เช่น is แปลว่า เป็น อยู่ คือ, have แปลว่า มี, do แปลว่า ทำ ,make ก็แปลว่า ทำ แต่ปัญหา คือ ไม่รู้ว่า make กับ do ใช้ต่างกันอย่างไร หรือ is ใช้ได้กี่แบบ
นอกจาก have แปลว่า มี ยังสามารถแปลว่า "ได้ทำมาแล้ว" ก็ได้ ดังนั้น แม้คนไทยจะรู้ความหมายของศัพท์ในระดับหนึ่ง แต่ไม่สามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ปัญหาที่สำคัญไปกว่านั้น คือ การนำ "คำศัพท์" ดังกล่าวไปผสมโรงเข้ากับ "โครงสร้างประโยคแบบไทยๆ" ที่คุ้นเคย โดยไม่ได้ตระหนักว่า การเขียนหรือการพูดภาษาไทย มันแตกต่างจากภาษาอังกฤษ เพราะในภาษาไทย ปกติเรามักจะพูดหรือเขียนแบบเรียงคำ ไม่ได้มีกฏตายตัวเกี่ยวกับโครงสร้างประโยค รวมทั้งไม่ได้มีการผัน verb ตามกาลเวลาเหมือนในภาษาอังกฤษ ลองดูตัวอย่างประโยคนี้ครับ ผม /ไม่ /อยาก/ไป/เรียน เวลาแปลประโยคนี้เป็นภาษาอังกฤษแบบ word for word คนไทยก็มักจะพูดว่า I not want to go study.แต่ประโยคนี้ผิดเต็มๆ แบบหมอไม่รับเย็บครับ จริงๆ เราควรจะพูดว่า I do not want to go to study. ทั้งนี้เพราะอะไรครับ ประโยคปฏิเสธในภาษาอังกฤษ (Negative) เราจะต้องใช้ "verb ช่วย" มานำหน้า "not" เสมอครับ (verb ช่วยมี 3 แบบ คือ verb to do, to have และ verb to be) อย่างที่ชื่อมันบอก มันเป็น verb ที่จะมา "ช่วย" เชื่อมประธานกับส่วนขยายของประโยคนั่นเองครับดังนั้นเราจำเป็นต้องท่อง ต้องจำหลักสำคัญให้ได้เสียก่อน คล้ายๆ กับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งเราก็ต้องจำสูตรเช่นกัน แต่พอเราเริ่มคล่อง ก็ไม่จำเป็นต้องมานั่งจำสูตรกันอีกต่อไป ปล่อยให้มันเป็นธรรมชาติไปเอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Many people still have faith (falsely) that grammar or about English grammar is not important. Many people don't know Part of Speech. (which is the important basis in sentence writing) doesn't know English Idioms (Idiom) do not understand.Tense and think only that sentence structure has only one verb object is chairman, but the advantages of Thai is knowing English vocabulary. Such as is means to be.Have means, do means, make means. But the problem is I don't know make with do use different? Or how many is available
.In addition to have means, can also mean "have done". So even people will know the meaning of the words in a certain level. But cannot be applied correctly. The problem more importantly is the "vocabulary" mentioned to blend in withFamiliar without realize that writing or speaking English is different from English. Because in Thai. We're usually talking or writing by words. Do not have fixed rules about the sentence structure, including not having verb diversion.Examples of this sentence. I / not to / go / class. Time to translate this sentence into English word for word people always say that I. Not want to go study.But this sentence fault, suck it, you. Really, we should say I do not want to go to study. This is because? Negative sentences in English. (Negative) we must use "verb help" like page "not" always (verb help 3 is a verb, to doTo have verb to and be), as its name suggests, it is verb to "help" bridge president with extension of the sentence itself, so we need to surf. Must engrave the first, similar to learning mathematics.But when we started well, there's no need to sit to remember the formula anymore. Let it naturally go
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: