วิธีการเขียนเล่าเรื่อง ๑. เตรียมเนื้อเรื่อง ๑.๑ เลือกเนื้อเรื่องหรือเห การแปล - วิธีการเขียนเล่าเรื่อง ๑. เตรียมเนื้อเรื่อง ๑.๑ เลือกเนื้อเรื่องหรือเห อังกฤษ วิธีการพูด

วิธีการเขียนเล่าเรื่อง ๑. เตรียมเนื

วิธีการเขียนเล่าเรื่อง
๑. เตรียมเนื้อเรื่อง
๑.๑ เลือกเนื้อเรื่องหรือเหตุการณ์ที่น่าสนใจ และประทับใจผู้เล่ามากที่สุด
๑.๒ เรียงลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจเริ่มตั้งแต่การนำเรื่องไปสู่เหตุการณ์ที่น่าประทับใจที่สุด แล้วจบด้วยการสรุปเป็นข้อคิด ข้อเตือนใจ ข้อเสนอแนะหรือทิ้งให้คิด
๑.๓ พิจารณาเนื้อเรื่องที่จัดละดับให้มีความสั้นยาวพอเหมาะกัน
๑.๔ เลือกใช้สำนวนภาษาให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง
๒. กำหนดโครงเรื่องที่เตรียมไว้ โดยแยกเป็นส่วนคำนำ เนื้อเรื่อง สรุป
การเตรียมโครงเรื่อง
๒.๑. ที่มาของเรื่อง
๒.๒ สถานที่และเวลาที่เกิดเรื่อง
๒.๓. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีบทบาทสำคัญในเรื่อง
๒.๔. เรื่องหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามลำดับ
๒.๕. ผลอันเนื่องมาจากเรื่องหรือเหตุการณ์สำคัญ
๓. ลงมือเรียบเรียง ตามลักษณะต่างๆ ดังนี้
๓.๑ ตามลำดับเวลา เกิดก่อนไปสู่ปัจจุบันตามลำดับเวลา
๓.๒ ตามลำดับหัวข้อ จากหัวข้อสำคัญมากไปหาความสำคัญน้อย
๓.๓ โดยการอธิบาย วิเคราะห์เรื่องราวตามลำดับความสำคัญของเรื่อง
๔. ใช้ประโยคนำเรื่องที่ชวนให้ผู้อ่านสนใจ เช่น
- เรื่องนี้ไม่น่าจะเกิดขึ้นได้ แต่ก็เกิดขึ้นแล้วเมื่อวานนี้เอง
- กว่าจะเกลี้ยกล่อมให้คุณพ่อซื้อเครื่องรับโทรทัศน์ได้ จะต้องใช้ความพยายามอย่างมาก
๕. นำเรื่องไปสู่จุดสุดยอด ซึ่งได้แก่จุดที่น่าสนใจหรือซับซ้อนที่สุดของเรื่อง จุดสุดยอดเป็นจุดที่เรื่องหรือเหตุการณ์ทั้งหมดดำเนินไปสู่ และต่อจากจุดสุดยอดจะมีเรื่องที่ต้องกล่าวอีกเพียงเล็กน้อยก็จบเรื่อง
๖. จบเรื่องในลักษณะที่ชวนให้ผู้อ่านรู้สึกว่าข้อขัดแย้งหรือปัญหาต่างๆ ได้คลี่คลายไปแล้ว และรู้ชัดแจ้งว่าอะไรเกิดขึ้นกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ผู้อ่านควรจะรู้สึกว่าตนเข้าใจเรื่องทั้งหมดแจ่มแจ้งเมื่อได้อ่านเรื่องจบลง
๗. ใช้ถ้อยคำสำนวนภาษาให้เหมาะสมแก่เรื่องและตัวละคร
๘. ลีลาการเขียน
๘.๑ การเลือกสรรคำ ควรใช้คำธรรมดาง่ายๆ ก่อให้เกิดความรู้สึก ใช้สำนวนไทย ใช้คำกะทัดรัด ไม่ควรใช้ภาษาถิ่น คำย่อ ตัวเลขที่ไม่เป็นทางการ
๘.๒ การใช้โวหาร โวหารในการเขียนมี ๕ ชนิด คือ
๘.๒.๑ บรรยายโวหาร เป็นการอธิบายอย่างถี่ถ้วน เป็นการเล่าเรื่องหรืออธิบายเหตุการณ์ จุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน
๘.๒.๒ พรรณนาโวหาร เป็นโวหารที่สอดแทรกอารมณ์ความรู้สึกของผู้เขียน เพื่อให้ผู้อ่านมองเห็นภาพ
๘.๒.๓ เทศนาโวหาร เป็นโวหารสั่งสอน ชักจูงใจ
๘.๒.๔ อุปมาโวหาร เป็นโวหารเปรียบเทียบ
๘.๒.๕ สาธกโวหาร เป็นโวหารแสดงเหตุผลและการยกตัวอย่าง

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วิธีการเขียนเล่าเรื่อง
๑. เตรียมเนื้อเรื่อง
๑.๑ เลือกเนื้อเรื่องหรือเหตุการณ์ที่น่าสนใจ และประทับใจผู้เล่ามากที่สุด
๑.๒ เรียงลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจเริ่มตั้งแต่การนำเรื่องไปสู่เหตุการณ์ที่น่าประทับใจที่สุด แล้วจบด้วยการสรุปเป็นข้อคิด ข้อเตือนใจ ข้อเสนอแนะหรือทิ้งให้คิด
๑.๓ พิจารณาเนื้อเรื่องที่จัดละดับให้มีความสั้นยาวพอเหมาะกัน
๑.๔ เลือกใช้สำนวนภาษาให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง
๒. กำหนดโครงเรื่องที่เตรียมไว้ โดยแยกเป็นส่วนคำนำ เนื้อเรื่อง สรุป
การเตรียมโครงเรื่อง
๒.๑. ที่มาของเรื่อง
๒.๒ สถานที่และเวลาที่เกิดเรื่อง
๒.๓. ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีบทบาทสำคัญในเรื่อง
๒.๔. เรื่องหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามลำดับ
๒.๕. ผลอันเนื่องมาจากเรื่องหรือเหตุการณ์สำคัญ
๓. ลงมือเรียบเรียง ตามลักษณะต่างๆ ดังนี้
๓.๑ ตามลำดับเวลา เกิดก่อนไปสู่ปัจจุบันตามลำดับเวลา
๓.๒ ตามลำดับหัวข้อ จากหัวข้อสำคัญมากไปหาความสำคัญน้อย
๓.๓ โดยการอธิบาย วิเคราะห์เรื่องราวตามลำดับความสำคัญของเรื่อง
๔. ใช้ประโยคนำเรื่องที่ชวนให้ผู้อ่านสนใจ เช่น
- เรื่องนี้ไม่น่าจะเกิดขึ้นได้ แต่ก็เกิดขึ้นแล้วเมื่อวานนี้เอง
- กว่าจะเกลี้ยกล่อมให้คุณพ่อซื้อเครื่องรับโทรทัศน์ได้ จะต้องใช้ความพยายามอย่างมาก
๕. นำเรื่องไปสู่จุดสุดยอด ซึ่งได้แก่จุดที่น่าสนใจหรือซับซ้อนที่สุดของเรื่อง จุดสุดยอดเป็นจุดที่เรื่องหรือเหตุการณ์ทั้งหมดดำเนินไปสู่ และต่อจากจุดสุดยอดจะมีเรื่องที่ต้องกล่าวอีกเพียงเล็กน้อยก็จบเรื่อง
๖. จบเรื่องในลักษณะที่ชวนให้ผู้อ่านรู้สึกว่าข้อขัดแย้งหรือปัญหาต่างๆ ได้คลี่คลายไปแล้ว และรู้ชัดแจ้งว่าอะไรเกิดขึ้นกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ผู้อ่านควรจะรู้สึกว่าตนเข้าใจเรื่องทั้งหมดแจ่มแจ้งเมื่อได้อ่านเรื่องจบลง
๗. ใช้ถ้อยคำสำนวนภาษาให้เหมาะสมแก่เรื่องและตัวละคร
๘. ลีลาการเขียน
๘.๑ การเลือกสรรคำ ควรใช้คำธรรมดาง่ายๆ ก่อให้เกิดความรู้สึก ใช้สำนวนไทย ใช้คำกะทัดรัด ไม่ควรใช้ภาษาถิ่น คำย่อ ตัวเลขที่ไม่เป็นทางการ
๘.๒ การใช้โวหาร โวหารในการเขียนมี ๕ ชนิด คือ
๘.๒.๑ บรรยายโวหาร เป็นการอธิบายอย่างถี่ถ้วน เป็นการเล่าเรื่องหรืออธิบายเหตุการณ์ จุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน
๘.๒.๒ พรรณนาโวหาร เป็นโวหารที่สอดแทรกอารมณ์ความรู้สึกของผู้เขียน เพื่อให้ผู้อ่านมองเห็นภาพ
๘.๒.๓ เทศนาโวหาร เป็นโวหารสั่งสอน ชักจูงใจ
๘.๒.๔ อุปมาโวหาร เป็นโวหารเปรียบเทียบ
๘.๒.๕ สาธกโวหาร เป็นโวหารแสดงเหตุผลและการยกตัวอย่าง

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
How to write a narrative
one. Prepare featuring
1.1 Choose a story or event of interest. And most impressive storyteller
1.2. Sort incident This is from the subject to the events of the most impressive. And ends with a summary of the lesson ideas, suggestions, or left to figure
1.3. Consider the story that goes with the short-term abstinence as
1.4. Select the language to suit featuring
two. Be the storyline is prepared Featuring a foreword by partial summary
of the storyline
2.1. The origin of the
2.2 Place and time of about
2.3. Those involved or who have a significant role in the
2.4. The events that occur in the order
of 2.5. Results due to the subject or event
3. Take into According to the following
sequence was 3.1 prior to the current chronological
3.2. By topic The topic is very important to determine the least significant
3.3 by describing the story in the order of importance of the
four. Sentence brought to invite interested readers like
- this is unlikely to happen. It already happened yesterday
- than to persuade your father to buy a television. Will require considerable effort
5. Brought to a climax. Including, points of interest, or the most complex of the story. The climax is the story or event to proceed. And from the vertex will have things to say, just a little, it's about
6. So, in a way that invites the reader to feel that conflicts or problems. Improved to And explicit knowledge of what happened to the person concerned. Readers should feel that they understand all apparent when reading the story ends
7. Use the appropriate words and expressions to the story and characters
8. Writing style
8.1 The selection of the Easy to use simple words Contributes to the sense of the word compact expressions Thailand. Do not use abbreviations dialect of official figures
8.2 quirky phrasing there are 5 types of writing is
8.2.1 narrative explains carefully. Narrative describing the event or The purpose is to educate the reader
8.2.2 is a quirky stylistic depictions portray the emotions of the author. To give the reader a glimpse
into the quirky stylistic 8.2.3 preached and taught. Persuading
a rhetorical figure of speech comparing 8.2.4
8.2.5 illustrate the rhetorical stylistic reasons and examples.

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
How to write a story
1. Prepare the
1. 1. Choose a story or event of interest. The narrator and impressed most
1.2 chronology of events happened. Which may start from the subject to the events at the most impressive. End summary is the idea to remind, suggestions or left think
1.3. Considering the management level to have long short fitted together
1.4 use expressions to suit the story
2. The plot was prepared. By a separate preamble content summary

2. 1 preparations storyline.The origin of the
2. 2. The place and time that the
2. 3. Related to or key role regarding
2. 4. Things or events)
. 2. 5. The effect due to the subject or important events
3.Start compilation, according to characteristics, such as
3. 1 chronologically before to the present respectively time
3.2 respectively the topic from the topic is very important for less significant
. 3. 3. By explaining the story of priority of
.4. Use the sentences take on inviting readers are interested in, such as
- this can't be happening. But it happened yesterday
- to persuade my father to buy a television. Must take great efforts
5.Lead to orgasm. The interesting point or the most complex of the subject. The climax is a subject or event to all the And from the climax is about to say again a little end
6.End in a manner that invite readers to feel the conflict or the problems be solved. And know clearly what happened to the people involved.7. To use their language to provide appropriate and character
8. Writing style
8. 1 selecting words should use simple plain words, causing feelings. Use of idioms, using words, compact, should not use abbreviations, numbers dialect. Casual
8.2. Using rhetoric, rhetoric in writing has 5 kinds is
8. 2. 1 lecture eloquence is explained thoroughly. A narrative or explain the events. Purpose: to educate readers
8. 2.2 description is a stylistic that interpose the emotions of the author. To give readers a view
8. 2. 3 เทศนาโวหาร is a stylistic instruct persuade
8. 2. 4, figures of speech, stylistic comparison
8. 2.5. To cite a stylistic rhetoric show reason and example

.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: