บทที่ 1บทนำ1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา โรคเบาหวาน เป็นโรคไม่ติดต การแปล - บทที่ 1บทนำ1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา โรคเบาหวาน เป็นโรคไม่ติดต อังกฤษ วิธีการพูด

บทที่ 1บทนำ1. ความเป็นมาและความสำคั

บทที่ 1
บทนำ

1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
โรคเบาหวาน เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของอินซูลินซึ่งไม่สามารถทำหน้าที่ลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ จึงส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดมีปริมาณสูงขึ้น ถ้าหากยังไม่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ภาวะปกติ อาจส่งผลทำให้มีอาการเฉียบพลันได้ เช่น มีอาการช็อค หมดสติ นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ไต โรคตา และโรคทางระบบประสาทได้ ซึ่งสาเหตุหลักของโรคเบาหวานเกิดจากพฤติกรรมในการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม พฤติกรรมการขาดการออกกำลังกาย พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ เป็นต้น ดังนั้นโรคเบาหวานจึงเป็นเป็นปัญหาที่สำคัญทางด้านสาธารณสุขของโลกและประเทศไทย จากข้อมูลสมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ (International diabetes Federation: IDF) ได้มีการรายงานสถานการณ์ผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลก 285 ล้านคน และคาดการณ์ว่าจะมีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกเพิ่มมากกว่า 435 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2573 หากไม่มีการดำเนินการในการป้องกันและควบคุมที่มีประสิทธิภาพ (รายงานผู้ป่วยในสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข)
ในปี พ.ศ. 2555 มีผู้ที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน 336,265 ราย อัตราป่วย 523.24 ต่อประชากรแสนคน และมีผู้ป่วยสะสมในปี พ.ศ. 2551-2555 จำนวน 1,799,977 ราย อัตราความชุก 2,800.80 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วยรายใหม่จำแนกเป็นเพศชาย 116,715 ราย อัตราป่วย 369.18 ต่อประชากรแสนคนและเพศหญิง 219,550 ราย อัตราป่วย 672.41 อัตราส่วนเพศชายต่อหญิงเท่ากับ 1:1.9 อัตราป่วยมีการเปลี่ยนแปลงตามอายุ ซึ่งอัตราป่วยสูงขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น กล่าวคือ อายุ 60 ปี ขึ้นไป ผู้ป่วยสูงสุดมีจำนวน 173,467 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 2,128.04 ต่อประชากรแสนคน รองลงมา กลุ่มอายุ 50-59 ปี มีจำนวน 97,040 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 1,207.35 ต่อประชากรแสนคน กลุ่มอายุ 40-49 ปี มีจำนวน 49,221 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 463.44 ต่อประชากรแสนคน กลุ่มอายุ 15-39 ปี มีจำนวน 15,501 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 61.61 ต่อประชากรแสนคน และกลุ่มอายุต่ำกว่า 15 ปี มีจำนวน 1,019 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 8.29 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ร้อยละ 59.38 รอง ลงมาโรงพยาบาลชุมชน ร้อยละ 24.94 โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป ร้อยละ 9.94 และอื่น ๆ ร้อยละ 5.74% (รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พ.ศ. 2555 : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข)
ผู้ป่วยเบาหวานในจังหวัดมหาสารคาม มีจำนวนผู้ป่วย 1,295.25 ต่อประชากรแสนคน จำนวน 12,207 ราย เป็นจังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงสุด 1 ใน 3 ของประเทศรองลงมาจากพิจิตรมีอัตราป่วย 1,317.28 ต่อประชากรแสนคน มีจำนวน 7,239 ราย และปราจีนบุรีอัตราป่วย 1,306.10 ต่อประชากรแสนคน จำนวน 6,161 ราย (รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พ.ศ. 2555: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) และจากรายงานโรคเรื้อรังในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมหาสารคาม ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2557 – 30 พฤษภาคม 2558 พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน 9,949 ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 1,452 ราย และได้รับการรักษาอยู่มีจำนวน 1,963 ราย (ระบบฐานข้อมูลโรงพยาบาลมหาสารคาม) จากจากรายงานสรุปจำนวนผู้ป่วยเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนเพ็ก อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 178 ราย มีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ปี 2557 มีจำนวน 5 ราย และผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ปี 2558 มีจำนวน 2 ราย
ดังนั้นการดูแลสุขภาพตามหลักสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก อาศัยหลักการสมดุลธาตุในร่างกายประกอบด้วย 4 ธาตุซึ่งส่วนใหญ่เป็นอวัยวะต่าง ๆ เสียสมดุลอาจเกิดจากอายุฤดูกาล กาลเวลา ที่อยู่อาศัยและพฤติกรรม 8 ประการ การเสียสมดุลธาตุถ้าไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนแกไข ก็จะนำมาสู่การเกิดโรค ดังนั้นในการสร้างสุขภาพให้สุขภาพดีจึงจำเป็นต้องเอาพฤติกรรม 8 ประการหรือ 8 อ. มาปฏิบัติเป็นประจำ เป้าหมายบริการแบบนี้ใช้แผนว่าแผนเมืองไทยสุขภาพดีวัตถุประสงค์ให้คนไทยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดีด้วยหลักการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีอายุขัยเฉลี่ย 80 ปี ที่ยังเป็นปัญหาหรือเกิดโรคแล้วต้องปรับสมดุล พฤติกรรมและให้การรักษา อาจใช้การนวด อบ ประคบ หรือ ยาและอาหาร ปรับสมดุล การใช้หลักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้องมีการจัดบริหารคลินิก 8 อ.เพื่อให้คำแนะนำประกอบกับการบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตามแผนคนไทยสุขภาพดีวัตถุประสงค์ให้คนไทยใช้บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอย่างมีความสุข
ในการศึกษาครั้งนี้ได้มีการใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ 8 อ. ด้วยการแพทย์แผนไทย เพื่อให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน โดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกับแรงจูงใจ เนื่องจากว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยเบาหวานต้องมีการรับรู้ความสามารถของตนเองในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในภาวะปกติ และความคาดหวังในผลลัพธ์ของการปฏิบัติตามโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ 8 อ.ด้วยการแพทย์แผนไทย ซึ่งสอดคล้องกับศึกษาของสุขปราณี นรารมย์ (2552) เรื่อง การประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรคร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ไม่พึ่งอินซูลิน พบว่า ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเอง ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน การรับรู้ความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน การรับรู้โอกาสความเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวาน พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวาน ความคาดหวังในความสามารถในการป้องกันโรคเบาหวานให้มีคะแนนเพิ่มขึ้นกว่ากลุ่มก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ และสอดคล้องกับการศึกษาของสุวิท พิมพ์ภาค (2555) เรื่อง การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกับทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการควบคุม ความดันโลหิตของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนประทาย ตำบลหนองแหน อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเอง พฤติกรรมการปฏิบัติตัวในการควบคุมระดับความดันโลหิตหลังการทดลองมากกว่าก่อนการทดลอง และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่า
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Chapter 1Introduction1. the history and importance of the problem. โรคเบาหวาน เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของอินซูลินซึ่งไม่สามารถทำหน้าที่ลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ จึงส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดมีปริมาณสูงขึ้น ถ้าหากยังไม่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ภาวะปกติ อาจส่งผลทำให้มีอาการเฉียบพลันได้ เช่น มีอาการช็อค หมดสติ นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ไต โรคตา และโรคทางระบบประสาทได้ ซึ่งสาเหตุหลักของโรคเบาหวานเกิดจากพฤติกรรมในการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม พฤติกรรมการขาดการออกกำลังกาย พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ เป็นต้น ดังนั้นโรคเบาหวานจึงเป็นเป็นปัญหาที่สำคัญทางด้านสาธารณสุขของโลกและประเทศไทย จากข้อมูลสมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ (International diabetes Federation: IDF) ได้มีการรายงานสถานการณ์ผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลก 285 ล้านคน และคาดการณ์ว่าจะมีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกเพิ่มมากกว่า 435 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2573 หากไม่มีการดำเนินการในการป้องกันและควบคุมที่มีประสิทธิภาพ (รายงานผู้ป่วยในสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข)ในปี พ.ศ. 2555 มีผู้ที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน 336,265 ราย อัตราป่วย 523.24 ต่อประชากรแสนคน และมีผู้ป่วยสะสมในปี พ.ศ. 2551-2555 จำนวน 1,799,977 ราย อัตราความชุก 2,800.80 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วยรายใหม่จำแนกเป็นเพศชาย 116,715 ราย อัตราป่วย 369.18 ต่อประชากรแสนคนและเพศหญิง 219,550 ราย อัตราป่วย 672.41 อัตราส่วนเพศชายต่อหญิงเท่ากับ 1:1.9 อัตราป่วยมีการเปลี่ยนแปลงตามอายุ ซึ่งอัตราป่วยสูงขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น กล่าวคือ อายุ 60 ปี ขึ้นไป ผู้ป่วยสูงสุดมีจำนวน 173,467 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 2,128.04 ต่อประชากรแสนคน รองลงมา กลุ่มอายุ 50-59 ปี มีจำนวน 97,040 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 1,207.35 ต่อประชากรแสนคน กลุ่มอายุ 40-49 ปี มีจำนวน 49,221 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 463.44 ต่อประชากรแสนคน กลุ่มอายุ 15-39 ปี มีจำนวน 15,501 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 61.61 ต่อประชากรแสนคน และกลุ่มอายุต่ำกว่า 15 ปี มีจำนวน 1,019 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 8.29 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ร้อยละ 59.38 รอง ลงมาโรงพยาบาลชุมชน ร้อยละ 24.94 โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป ร้อยละ 9.94 และอื่น ๆ ร้อยละ 5.74% (รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พ.ศ. 2555 : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข)ผู้ป่วยเบาหวานในจังหวัดมหาสารคาม มีจำนวนผู้ป่วย 1,295.25 ต่อประชากรแสนคน จำนวน 12,207 ราย เป็นจังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงสุด 1 ใน 3 ของประเทศรองลงมาจากพิจิตรมีอัตราป่วย 1,317.28 ต่อประชากรแสนคน มีจำนวน 7,239 ราย และปราจีนบุรีอัตราป่วย 1,306.10 ต่อประชากรแสนคน จำนวน 6,161 ราย (รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พ.ศ. 2555: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) และจากรายงานโรคเรื้อรังในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมหาสารคาม ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2557 – 30 พฤษภาคม 2558 พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน 9,949 ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 1,452 ราย และได้รับการรักษาอยู่มีจำนวน 1,963 ราย (ระบบฐานข้อมูลโรงพยาบาลมหาสารคาม) จากจากรายงานสรุปจำนวนผู้ป่วยเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนเพ็ก อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 178 ราย มีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ปี 2557 มีจำนวน 5 ราย และผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ปี 2558 มีจำนวน 2 ราย
ดังนั้นการดูแลสุขภาพตามหลักสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก อาศัยหลักการสมดุลธาตุในร่างกายประกอบด้วย 4 ธาตุซึ่งส่วนใหญ่เป็นอวัยวะต่าง ๆ เสียสมดุลอาจเกิดจากอายุฤดูกาล กาลเวลา ที่อยู่อาศัยและพฤติกรรม 8 ประการ การเสียสมดุลธาตุถ้าไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนแกไข ก็จะนำมาสู่การเกิดโรค ดังนั้นในการสร้างสุขภาพให้สุขภาพดีจึงจำเป็นต้องเอาพฤติกรรม 8 ประการหรือ 8 อ. มาปฏิบัติเป็นประจำ เป้าหมายบริการแบบนี้ใช้แผนว่าแผนเมืองไทยสุขภาพดีวัตถุประสงค์ให้คนไทยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดีด้วยหลักการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีอายุขัยเฉลี่ย 80 ปี ที่ยังเป็นปัญหาหรือเกิดโรคแล้วต้องปรับสมดุล พฤติกรรมและให้การรักษา อาจใช้การนวด อบ ประคบ หรือ ยาและอาหาร ปรับสมดุล การใช้หลักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้องมีการจัดบริหารคลินิก 8 อ.เพื่อให้คำแนะนำประกอบกับการบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตามแผนคนไทยสุขภาพดีวัตถุประสงค์ให้คนไทยใช้บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอย่างมีความสุข
ในการศึกษาครั้งนี้ได้มีการใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ 8 อ. ด้วยการแพทย์แผนไทย เพื่อให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน โดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกับแรงจูงใจ เนื่องจากว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยเบาหวานต้องมีการรับรู้ความสามารถของตนเองในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในภาวะปกติ และความคาดหวังในผลลัพธ์ของการปฏิบัติตามโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ 8 อ.ด้วยการแพทย์แผนไทย ซึ่งสอดคล้องกับศึกษาของสุขปราณี นรารมย์ (2552) เรื่อง การประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรคร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ไม่พึ่งอินซูลิน พบว่า ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเอง ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน การรับรู้ความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน การรับรู้โอกาสความเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวาน พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวาน ความคาดหวังในความสามารถในการป้องกันโรคเบาหวานให้มีคะแนนเพิ่มขึ้นกว่ากลุ่มก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ และสอดคล้องกับการศึกษาของสุวิท พิมพ์ภาค (2555) เรื่อง การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกับทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการควบคุม ความดันโลหิตของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนประทาย ตำบลหนองแหน อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเอง พฤติกรรมการปฏิบัติตัวในการควบคุมระดับความดันโลหิตหลังการทดลองมากกว่าก่อนการทดลอง และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: