ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจและสังคมไทยความสัมพันธ์ระหว่างกา การแปล - ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจและสังคมไทยความสัมพันธ์ระหว่างกา อังกฤษ วิธีการพูด

ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐ

ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจและสังคมไทย
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจและสังคมไทย
1.ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจการเมืองเป็นแบบแผนของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับอำนาจการปกครอง และการใช้อำนาจและเศรษฐกิจเป็นเรื่องของการผลิต การจำหน่ายจ่ายแจกทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้แก่สาธารณชนเพื่อความสมบูรณ์พูนสุขแก่ส่วนรวมนักเศรษฐศาสตร์ยอมรับว่า ความเจริญทางเศรษฐกิจ มีอิทธิพลต่อระบอบการเมืองของแต่ละสังคมเป็นอย่างยิ่ง อริสโตเติลมีความเห็นว่า เสถียรภาพทางการเมือง ขึ้นอยู่กับสภาวะทางเศรษฐกิจมาก และได้เสนอรูปแบบการปกครองที่ดีที่สุดคือ รูปแบบที่เรียกว่า “มัชฌิมวิถีอธิปไตย” หรือ “Polity” คือ รูปแบบการปกครองที่มีชนชั้นกลางอยู่ในสังคมจำนวนมากเศรษฐกิจ กับการเมืองเป็นสิ่งที่เกี่ยวพันกันอย่างแยกไม่ออกคือ ทั้งการเมืองและเศรษฐกิจต่างก็มีอิทธิพลต่อกัน ดังนี้
1)เศรษฐกิจ มีอิทธิพลต่อการเมือง ดังเช่นทัศนะของอริสโตเติลที่กล่าวถึงสภาวะทางการเมืองซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยทางเศรษฐกิจดังกล่าวมาแล้ว
ในเรื่องของมัชฌิมวิถีอธิปไตย(Polity)
2)การเมืองมีอิทธิพลต่อเศรษฐกิจคือนโยบายทางการเมืองย่อมมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจดังจะเห็นได้จากแนวนโยบาย หรืออุดมการณ์ของผู้ที่มีอำนาจปกครอง นำมาใช้อยู่ 2 แนวทางกว้างๆ คือแนวแรก ได้แก่
“การปล่อยเสรี” (Laissez-faire) กับแนวที่สอง คือ อยู่ใต้การควบคุมดูแลโดยรัฐ
2.การเมืองกับสังคม มนุษย์เป็นสมาชิกของสังคม กิจกรรมหรือความสัมพันธ์ของมนุษย์ การรวมกลุ่มของมนุษย์ทั้งหมด ถือเป็นกิจกรรมทางสังคมและถือเป็นหลักธรรมดาที่ในสังคมมนุษย์จะต้องมีความขัดแย้งเกิดขึ้นเสมอ ความขัดแย้งนี้เกิดขึ้นเพราะการฉกฉวยแย่งชิงสิ่งที่มีคุณค่าของสังคมในระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง และเป็นสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แต่ในทัศนะตรงกันข้าม การเมืองไม่จำเป็นต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของความขัดแย้งเพียง
อย่างเดียวแต่อาจจะเป็นไปในรูปของความร่วมมือสมานฉันท์สร้างสรรค์สังคมกันไว้ได้กล่าวคือประชาชน
กลุ่มหนึ่งอาจจะทำความตกลงในเป้าหมายหมายร่วมกันในสังคมและร่วมกันดำเนินการเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายนั้นด้วยดี การเมืองมีความสัมพันธ์กันกับการควบคุม และการระงับความขัดแย้ง
ภายในสังคมการกำหนดเป้าหมายร่วมกันและการดำเนินการต่าง ๆ ร่วมกัน ซึ่งเป็นส่วนรวมหรือที่
เรียกว่า“กิจกรรมสาธารณะ” (Public Affair)
รัฐ ชาติ และประเทศ
บันทึกนี้เขียนโดย สิบเอกบุญลือ เรียงสันเทียะ เมื่อ 5 ปีที่แล้ว

แจ้งลบ



0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจและสังคมไทย
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจและสังคมไทย
1.ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจการเมืองเป็นแบบแผนของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับอำนาจการปกครอง และการใช้อำนาจและเศรษฐกิจเป็นเรื่องของการผลิต การจำหน่ายจ่ายแจกทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้แก่สาธารณชนเพื่อความสมบูรณ์พูนสุขแก่ส่วนรวมนักเศรษฐศาสตร์ยอมรับว่า ความเจริญทางเศรษฐกิจ มีอิทธิพลต่อระบอบการเมืองของแต่ละสังคมเป็นอย่างยิ่ง อริสโตเติลมีความเห็นว่า เสถียรภาพทางการเมือง ขึ้นอยู่กับสภาวะทางเศรษฐกิจมาก และได้เสนอรูปแบบการปกครองที่ดีที่สุดคือ รูปแบบที่เรียกว่า “มัชฌิมวิถีอธิปไตย” หรือ “Polity” คือ รูปแบบการปกครองที่มีชนชั้นกลางอยู่ในสังคมจำนวนมากเศรษฐกิจ กับการเมืองเป็นสิ่งที่เกี่ยวพันกันอย่างแยกไม่ออกคือ ทั้งการเมืองและเศรษฐกิจต่างก็มีอิทธิพลต่อกัน ดังนี้
1)เศรษฐกิจ มีอิทธิพลต่อการเมือง ดังเช่นทัศนะของอริสโตเติลที่กล่าวถึงสภาวะทางการเมืองซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยทางเศรษฐกิจดังกล่าวมาแล้ว
ในเรื่องของมัชฌิมวิถีอธิปไตย(Polity)
2)การเมืองมีอิทธิพลต่อเศรษฐกิจคือนโยบายทางการเมืองย่อมมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจดังจะเห็นได้จากแนวนโยบาย หรืออุดมการณ์ของผู้ที่มีอำนาจปกครอง นำมาใช้อยู่ 2 แนวทางกว้างๆ คือแนวแรก ได้แก่
“การปล่อยเสรี” (Laissez-faire) กับแนวที่สอง คือ อยู่ใต้การควบคุมดูแลโดยรัฐ
2.การเมืองกับสังคม มนุษย์เป็นสมาชิกของสังคม กิจกรรมหรือความสัมพันธ์ของมนุษย์ การรวมกลุ่มของมนุษย์ทั้งหมด ถือเป็นกิจกรรมทางสังคมและถือเป็นหลักธรรมดาที่ในสังคมมนุษย์จะต้องมีความขัดแย้งเกิดขึ้นเสมอ ความขัดแย้งนี้เกิดขึ้นเพราะการฉกฉวยแย่งชิงสิ่งที่มีคุณค่าของสังคมในระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง และเป็นสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แต่ในทัศนะตรงกันข้าม การเมืองไม่จำเป็นต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของความขัดแย้งเพียง
อย่างเดียวแต่อาจจะเป็นไปในรูปของความร่วมมือสมานฉันท์สร้างสรรค์สังคมกันไว้ได้กล่าวคือประชาชน
กลุ่มหนึ่งอาจจะทำความตกลงในเป้าหมายหมายร่วมกันในสังคมและร่วมกันดำเนินการเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายนั้นด้วยดี การเมืองมีความสัมพันธ์กันกับการควบคุม และการระงับความขัดแย้ง
ภายในสังคมการกำหนดเป้าหมายร่วมกันและการดำเนินการต่าง ๆ ร่วมกัน ซึ่งเป็นส่วนรวมหรือที่
เรียกว่า“กิจกรรมสาธารณะ” (Public Affair)
รัฐ ชาติ และประเทศ
บันทึกนี้เขียนโดย สิบเอกบุญลือ เรียงสันเทียะ เมื่อ 5 ปีที่แล้ว

แจ้งลบ



การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจและสังคมไทย
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจและสังคมไทย
1.ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจการเมืองเป็นแบบแผนของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับอำนาจการปกครอง และการใช้อำนาจและเศรษฐกิจเป็นเรื่องของการผลิต การจำหน่ายจ่ายแจกทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้แก่สาธารณชนเพื่อความสมบูรณ์พูนสุขแก่ส่วนรวมนักเศรษฐศาสตร์ยอมรับว่า ความเจริญทางเศรษฐกิจ มีอิทธิพลต่อระบอบการเมืองของแต่ละสังคมเป็นอย่างยิ่ง อริสโตเติลมีความเห็นว่า เสถียรภาพทางการเมือง ขึ้นอยู่กับสภาวะทางเศรษฐกิจมาก และได้เสนอรูปแบบการปกครองที่ดีที่สุดคือ รูปแบบที่เรียกว่า “มัชฌิมวิถีอธิปไตย” หรือ “Polity” คือ รูปแบบการปกครองที่มีชนชั้นกลางอยู่ในสังคมจำนวนมากเศรษฐกิจ กับการเมืองเป็นสิ่งที่เกี่ยวพันกันอย่างแยกไม่ออกคือ ทั้งการเมืองและเศรษฐกิจต่างก็มีอิทธิพลต่อกัน ดังนี้
1)เศรษฐกิจ มีอิทธิพลต่อการเมือง ดังเช่นทัศนะของอริสโตเติลที่กล่าวถึงสภาวะทางการเมืองซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยทางเศรษฐกิจดังกล่าวมาแล้ว
ในเรื่องของมัชฌิมวิถีอธิปไตย(Polity)
2)การเมืองมีอิทธิพลต่อเศรษฐกิจคือนโยบายทางการเมืองย่อมมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจดังจะเห็นได้จากแนวนโยบาย หรืออุดมการณ์ของผู้ที่มีอำนาจปกครอง นำมาใช้อยู่ 2 แนวทางกว้างๆ คือแนวแรก ได้แก่
“การปล่อยเสรี” (Laissez-faire) กับแนวที่สอง คือ อยู่ใต้การควบคุมดูแลโดยรัฐ
2.การเมืองกับสังคม มนุษย์เป็นสมาชิกของสังคม กิจกรรมหรือความสัมพันธ์ของมนุษย์ การรวมกลุ่มของมนุษย์ทั้งหมด ถือเป็นกิจกรรมทางสังคมและถือเป็นหลักธรรมดาที่ในสังคมมนุษย์จะต้องมีความขัดแย้งเกิดขึ้นเสมอ ความขัดแย้งนี้เกิดขึ้นเพราะการฉกฉวยแย่งชิงสิ่งที่มีคุณค่าของสังคมในระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง และเป็นสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แต่ในทัศนะตรงกันข้าม การเมืองไม่จำเป็นต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของความขัดแย้งเพียง
อย่างเดียวแต่อาจจะเป็นไปในรูปของความร่วมมือสมานฉันท์สร้างสรรค์สังคมกันไว้ได้กล่าวคือประชาชน
กลุ่มหนึ่งอาจจะทำความตกลงในเป้าหมายหมายร่วมกันในสังคมและร่วมกันดำเนินการเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายนั้นด้วยดี การเมืองมีความสัมพันธ์กันกับการควบคุม และการระงับความขัดแย้ง
ภายในสังคมการกำหนดเป้าหมายร่วมกันและการดำเนินการต่าง ๆ ร่วมกัน ซึ่งเป็นส่วนรวมหรือที่
เรียกว่า“กิจกรรมสาธารณะ” (Public Affair)
รัฐ ชาติ และประเทศ
บันทึกนี้เขียนโดย สิบเอกบุญลือ เรียงสันเทียะ เมื่อ 5 ปีที่แล้ว

แจ้งลบ



การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The relationship between politics and economy and society, the relationship between politics and economy and society
1.The relationship between politics and economy is the pattern of relationship between human being associated with the power of government. And the use of power and the economy's production.The economic prosperity. Influence on the political system of each society. Aristotle is of the opinion that political stability depends on economic condition. And the proposed rule is best."Middle way of sovereignty" or "Polity" is a form of government with the middle class in society, many economy. And politics is involved widely separate out. Both politics and economy are also influence each other as follows:
.1) economic and political influence. As the viewpoint of Aristotle discussed political conditions, which depends on the economic factors as mentioned in the middle way of
sovereignty (Polity)
.2) political influence economy is political will affect the economy, as can be seen from the policy. Or the ideology of those with power rule used in 2 broad guidelines the first include
."Liberalization" (Laissez-faire) and the second is under the supervision by the state
2.Politics and society, human being is a member of the society. The activity or human relationships. The integration of all humans. Is a normal social activities and principles in human society must have a conflict เกิดขึ้นเสมอ.And that is what can't be avoided, but in the opinion opposite. Need based on political conflict only
.Alone but may be in the form of cooperation and solidarity of society together, it is the People
one group may deal in target means the mutual action and to achieve
.The target well, political relationship with the control. Conflict and settlement of
within social target together and the various joint, which is public or
called "public activities". (Public Affair)
.State, nation and country
this record written by sergeant boonlue sort and model for product shipment when 5 year





. Negative cock
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: