บทความเรื่องนี้เป็นการถ่ายทอดประสบการณ์ เกี่ยวกับความเข้าใจวัฒนธรรมในด การแปล - บทความเรื่องนี้เป็นการถ่ายทอดประสบการณ์ เกี่ยวกับความเข้าใจวัฒนธรรมในด อังกฤษ วิธีการพูด

บทความเรื่องนี้เป็นการถ่ายทอดประสบก

บทความเรื่องนี้เป็นการถ่ายทอดประสบการณ์ เกี่ยวกับความเข้าใจวัฒนธรรมในด้านต่าง ๆ ของชาวต่างประเทศ ซึ่งดิฉันคิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน นักศึกษา เมื่อต้องไปศึกษาต่อหรือพบปะกับชาวต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ดังนี้
เข้าใจการใช้ภาษาที่แตกต่างกัน
หลายครั้งเราไม่ได้ตระหนักว่า ชาวต่างชาติ แม้จะฟังภาษาออก แต่หากอยู่คนละวัฒนธรรมกับเรา ย่อมไม่สามารถเข้าใจในความหมายที่เราสื่อสารได้ หรืออาจตีความผิดไปจากความหมายที่เราต้องการสื่อ ตัวอย่างเช่น ในภาษาไทยจะมีสำนวนที่เปรียบเทียบการทำสิ่งง่าย ๆ กับ “การปอกกล้วยเข้าปาก” แต่หากเราพูดกับชาวต่างชาติ แล้วแปลตรงตามตัวอักษรว่า “It's easy as if we peel a banana and put it into the mouth.” คนฟังอาจไม่เข้าใจว่า เหตุใดเราจึงเปรียบเทียบเช่นนั้น ทั้งนี้ เนื่องจากสังคมไทยสมัยก่อน กล้วยเป็นสิ่งที่หามารับประทานง่าย แต่สังคมของชาวต่างชาติไม่เป็นเช่นนั้น หรือคำว่า ภรรยาน้อย โดยเราเรียกว่า “Minor wife” ซึ่งไม่ตรงกับคำใดในภาษาอังกฤษ สำหรับสังคมอังกฤษน่าจะเป็นคำว่า Secret wife มากกว่า เนื่องจากสังคมอังกฤษเป็นสังคม “ผัวเดียวเมียเดียว” เมื่อไปพูดกับชาวต่างชาติ อาจตีความผิดได้ ดังนั้น การนำวัฒนธรรมของไทยไปใช้ปนกับภาษาอื่น แล้วสื่อสารให้ชาวต่างชาติฟัง จะทำให้การสื่อสารของเราด้อยประสิทธิภาพ เพราะผู้ฟังไม่เข้าใจ หรืออาจเกิดปัญหาได้เมื่อตีความผิดได้ แนวทางแก้ไขคือ ควรเทียบเคียงกับความหมายของ “คำ” หรือ “ประโยค” ที่เราต้องการสื่อสาร กับ “คำ” หรือ “ประโยค” ในภาษาต่างประเทศ เพื่อความเข้าใจที่ตรงกันทั้งสองฝ่าย
เข้าใจวัฒนธรรมการทักทาย
การทักทายนับเป็นก้าวแรกของการเปิดประตูสู่การสร้างสัมพันธ์อันดี เมื่อเราต้องปฏิสัมพันธ์กับชาวต่างชาติ การทักทายตามวัฒนธรรมของเขาจะสร้างความประทับใจได้เป็นอย่างดี ดังนั้น เราควรเรียนรู้วัฒนธรรมการทักทายของคนต่างวัฒนธรรมที่เราต้องปฏิสัมพันธ์ด้วย ยกตัวอย่างเช่น การทักทายด้วยการจับมือ ปัจจุบันการทักทายด้วยการจับมือ เรียกได้ว่า เป็นมารยาทสากล ที่ต้องปฏิบัติให้ถูกต้อง เหมาะสม การจับมือโดยมารยาททั่วไป ให้ใช้มือขวาจับมือขวาของอีกฝ่ายแล้วเขย่าขึ้นลง เบา ๆ เพียง 1-2 ครั้ง ด้วยสีหน้ายิ้มแย้ม ถ้าเป็นชายด้วยกัน ผู้อาวุโสกว่าจะเป็นฝ่ายยื่นมือไปจับก่อน ถ้าเป็นชายและหญิง ฝ่ายหญิงจะยื่นมือมาให้จับก่อนเท่านั้น ฝ่ายชายจึงยื่นมือตอบได้ ยกเว้นกรณีที่ฝ่ายชายอาวุโสมากกว่า เวลาจับมือกัน อย่าเอาอีกมือหนึ่งล้วงกระเป๋า ไม่ต้องโค้งคำนับ ควรมองตาฝ่ายตรงข้าม อย่าลืมลุกขึ้นยืนด้วย นอกจากนี้ ประเพณีการจับมือในชาติต่าง ๆ มีความแตกต่างกัน เช่น ชาวเยอรมัน มักเขย่ามือเพียงครั้งเดียว คนอเมริกัน เมื่อจับมือขวาของอีกฝ่ายแล้วใช้มืออีกข้างประกบอีกที หรือใช้มือซ้ายจับที่ต้นแขนหรือบนไหล่ขวาอีกที การจับแบบนี้มักจะใช้กับเพื่อนสนิท และนักการเมืองมักจะใช้วิธีนี้ อย่างไรก็ตาม มีบางประเทศที่คิดว่าการจับมือเป็นรสนิยมที่ไม่ดี ดังนั้น ไม่ว่าสถานการณ์ใดก็ตาม เราควรศึกษาถึงวัฒนธรรมของบุคคลที่เราจะปฏิสัมพันธ์ด้วยก่อน ส่วนการทักทายด้วยการโค้งคำนับ โดยเฉพาะกับชาวญี่ปุ่น การเรียนรู้การทักทายด้วยวิธีโค้งคำนับ จะช่วยให้เราได้รับการยอมรับมากขึ้น การโค้งคำนับ แบ่งได้ 3 ระดับ การโค้งที่ทำมุม 15 องศา จากสะโพกถึงส่วนบนของร่างกาย เป็นการทักทายควรกล่าวคำทักทาย การโค้งคำนับ การโค้งที่ทำมุม 30 องศา เป็นการแสดงความเคารพ การโค้งที่ทำมุม 45 องศา เป็นการแสดงความเคารพสูงสุด การโค้งทั้ง 3 ระดับ นิ้วมือทั้งสองข้างต้องวางแนบลำตัวอย่างเป็นธรรมชาติ แล้วก้มศีรษะพร้อมกับโค้งลำตัวไปด้านหน้าพ้นแนวหัวเข่า ผู้โค้งต้องประสานนัยน์ตากับอีกฝ่ายหนึ่ง ทั้งก่อนและหลังการโค้งคำนับ
เข้าใจภาษาทางกาย
ในการปฏิสัมพันธ์กับชาวต่างชาติ เราควรเรียนรู้ถึงลักษณะภาษากายต่าง ๆ เช่น สายตา สีหน้า ท่าทาง ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมของเขา เพื่อที่เราจะไม่ตีความผิด ในที่นี้ขอยกตัวอย่างใน 2 เรื่อง คือ “การมอง” และ “ระยะห่างของขอบเขต” ในเรื่อง “การมอง” ในแต่ละประเทศมีความหมายต่างกัน สังคมตะวันตกชอบที่จะมองตรง ๆ มากกว่าการมองเฉียด ๆ หรือหลบตา ถ้าจริงจัง จริงใจ ต้องจ้องตาคนที่จะพูดด้วย ส่วนการชำเลืองมองทางด้านข้าง ชาวสเปนและชาวอังกฤษ รู้กันว่าเป็นการมองแบบขโมย และมักใช้การมองเช่นนี้ เพื่อไม่ให้ถูกจับได้ว่ามองอยู่ ในสังคมชาวเปอโตริโก เด็กผู้หญิงที่ดี ต้องไม่มองตาผู้ใหญ่โดยเด็ดขาด และจะไม่พูดอะไรทั้งสิ้น เช่นเดียวกับในกลุ่มของคนเอเชีย เวลาพูดกันก็จะไม่ค่อยมองหน้ากัน ยิ่งถ้าเป็นผู้ใหญ่ มักจะยิ่งหลบตาลงต่ำ ส่วนเรื่อง “ระยะห่างของขอบเขต” ซึ่งหมายถึง พื้นที่ว่างตรงกลางระหว่างเรากับ ผู้ที่เรามีปฏิสัมพันธ์ด้วย ระยะห่างมาก หรือห่างน้อย จะเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม และเกี่ยวข้องกับความรู้สึก เช่น คนชั้นกลาง ที่อาศัยอยู่ในเมือง ในอเมริกาเหนือ อังกฤษ และออสเตรเลีย มักมีระยะห่างใกล้เคียงกัน แบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ ขอบเขตชั้นใน (ระหว่าง 6-8 นิ้ว) เป็นพื้นที่ส่วนตัวมากที่สุด อนุญาตเฉพาะคนที่มีความใกล้ชิดสนิทสนมเท่านั้นที่เข้ามาได้ ขอบเขตส่วนบุคคล (ระหว่าง 1.5-4 ฟุต) เป็นระยะที่เรามักจะใช้ยืนอยู่ในงานเลี้ยง งานสังคม งานสังสรรค์ในบริษัท และเมื่อเวลาเพื่อนฝูงมาชุมนุมกัน ขอบเขตสังคม (ระหว่าง 4-12 ฟุต) เป็นระยะที่เราใช้เมื่อยืนอยู่กับคนแปลกหน้า ขอบเขตในที่สาธารณะ (มากกว่า 12 ฟุต) ระยะนี้เป็นระยะที่เราเลือกเมื่อจะต้องออกไปพูดในที่ชุมนุมชน เพราะทำให้เรารู้สึกสบาย เมื่อต้องปฏิสัมพันธ์กับชาวต่างชาติ เราควรเรียนรู้ “ระยะห่าง” นี้ด้วย
เข้าใจขนบธรรมเนียมประเพณี
ขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นเรื่องสำคัญที่เราควรเรียนรู้ เพราะมีผลเชิงความเชื่อทางศาสนา มารยาททางสังคม และความพึงพอใจ-ไม่พึงพอใจ ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เราควรเรียนรู้ อาทิ มารยาททางสังคมทั่วไป เช่น เมื่อชาวต่างชาติที่เป็นผู้หญิงมาถึง ต้องลุกขึ้นยืน และเชื้อเชิญให้ฝ่ายหญิงนั่งก่อน โดยเลือกที่นั่งที่คิดว่าดีที่สุดให้ ควรแต่งกายให้เหมาะสมเวลาออกงานเลี้ยง ผู้ชายควรใส่สูท ผู้หญิงควรสวมชุดกระโปรงสวยงาม ข้อปฏิบัติทางศาสนา เช่น คนอิสลามไม่รับประทาน และไม่แตะต้องสุนัข หมู และงู เพราะถือว่าเป็นสัตว์สกปรก ชาวอาหรับในตะวันออกกลางและอินเดีย ถือว่า มือซ้ายไม่สะอาด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
This article is about understanding cultural experiences in the areas of Foreign Affairs, which I think will be beneficial to students. Students To study or meet with foreigners in various scenarios:Understand the use of different languages.หลายครั้งเราไม่ได้ตระหนักว่า ชาวต่างชาติ แม้จะฟังภาษาออก แต่หากอยู่คนละวัฒนธรรมกับเรา ย่อมไม่สามารถเข้าใจในความหมายที่เราสื่อสารได้ หรืออาจตีความผิดไปจากความหมายที่เราต้องการสื่อ ตัวอย่างเช่น ในภาษาไทยจะมีสำนวนที่เปรียบเทียบการทำสิ่งง่าย ๆ กับ “การปอกกล้วยเข้าปาก” แต่หากเราพูดกับชาวต่างชาติ แล้วแปลตรงตามตัวอักษรว่า “It's easy as if we peel a banana and put it into the mouth.” คนฟังอาจไม่เข้าใจว่า เหตุใดเราจึงเปรียบเทียบเช่นนั้น ทั้งนี้ เนื่องจากสังคมไทยสมัยก่อน กล้วยเป็นสิ่งที่หามารับประทานง่าย แต่สังคมของชาวต่างชาติไม่เป็นเช่นนั้น หรือคำว่า ภรรยาน้อย โดยเราเรียกว่า “Minor wife” ซึ่งไม่ตรงกับคำใดในภาษาอังกฤษ สำหรับสังคมอังกฤษน่าจะเป็นคำว่า Secret wife มากกว่า เนื่องจากสังคมอังกฤษเป็นสังคม “ผัวเดียวเมียเดียว” เมื่อไปพูดกับชาวต่างชาติ อาจตีความผิดได้ ดังนั้น การนำวัฒนธรรมของไทยไปใช้ปนกับภาษาอื่น แล้วสื่อสารให้ชาวต่างชาติฟัง จะทำให้การสื่อสารของเราด้อยประสิทธิภาพ เพราะผู้ฟังไม่เข้าใจ หรืออาจเกิดปัญหาได้เมื่อตีความผิดได้ แนวทางแก้ไขคือ ควรเทียบเคียงกับความหมายของ “คำ” หรือ “ประโยค” ที่เราต้องการสื่อสาร กับ “คำ” หรือ “ประโยค” ในภาษาต่างประเทศ เพื่อความเข้าใจที่ตรงกันทั้งสองฝ่ายUnderstanding the greeting.การทักทายนับเป็นก้าวแรกของการเปิดประตูสู่การสร้างสัมพันธ์อันดี เมื่อเราต้องปฏิสัมพันธ์กับชาวต่างชาติ การทักทายตามวัฒนธรรมของเขาจะสร้างความประทับใจได้เป็นอย่างดี ดังนั้น เราควรเรียนรู้วัฒนธรรมการทักทายของคนต่างวัฒนธรรมที่เราต้องปฏิสัมพันธ์ด้วย ยกตัวอย่างเช่น การทักทายด้วยการจับมือ ปัจจุบันการทักทายด้วยการจับมือ เรียกได้ว่า เป็นมารยาทสากล ที่ต้องปฏิบัติให้ถูกต้อง เหมาะสม การจับมือโดยมารยาททั่วไป ให้ใช้มือขวาจับมือขวาของอีกฝ่ายแล้วเขย่าขึ้นลง เบา ๆ เพียง 1-2 ครั้ง ด้วยสีหน้ายิ้มแย้ม ถ้าเป็นชายด้วยกัน ผู้อาวุโสกว่าจะเป็นฝ่ายยื่นมือไปจับก่อน ถ้าเป็นชายและหญิง ฝ่ายหญิงจะยื่นมือมาให้จับก่อนเท่านั้น ฝ่ายชายจึงยื่นมือตอบได้ ยกเว้นกรณีที่ฝ่ายชายอาวุโสมากกว่า เวลาจับมือกัน อย่าเอาอีกมือหนึ่งล้วงกระเป๋า ไม่ต้องโค้งคำนับ ควรมองตาฝ่ายตรงข้าม อย่าลืมลุกขึ้นยืนด้วย นอกจากนี้ ประเพณีการจับมือในชาติต่าง ๆ มีความแตกต่างกัน เช่น ชาวเยอรมัน มักเขย่ามือเพียงครั้งเดียว คนอเมริกัน เมื่อจับมือขวาของอีกฝ่ายแล้วใช้มืออีกข้างประกบอีกที หรือใช้มือซ้ายจับที่ต้นแขนหรือบนไหล่ขวาอีกที การจับแบบนี้มักจะใช้กับเพื่อนสนิท และนักการเมืองมักจะใช้วิธีนี้ อย่างไรก็ตาม มีบางประเทศที่คิดว่าการจับมือเป็นรสนิยมที่ไม่ดี ดังนั้น ไม่ว่าสถานการณ์ใดก็ตาม เราควรศึกษาถึงวัฒนธรรมของบุคคลที่เราจะปฏิสัมพันธ์ด้วยก่อน ส่วนการทักทายด้วยการโค้งคำนับ โดยเฉพาะกับชาวญี่ปุ่น การเรียนรู้การทักทายด้วยวิธีโค้งคำนับ จะช่วยให้เราได้รับการยอมรับมากขึ้น การโค้งคำนับ แบ่งได้ 3 ระดับ การโค้งที่ทำมุม 15 องศา จากสะโพกถึงส่วนบนของร่างกาย เป็นการทักทายควรกล่าวคำทักทาย การโค้งคำนับ การโค้งที่ทำมุม 30 องศา เป็นการแสดงความเคารพ การโค้งที่ทำมุม 45 องศา เป็นการแสดงความเคารพสูงสุด การโค้งทั้ง 3 ระดับ นิ้วมือทั้งสองข้างต้องวางแนบลำตัวอย่างเป็นธรรมชาติ แล้วก้มศีรษะพร้อมกับโค้งลำตัวไปด้านหน้าพ้นแนวหัวเข่า ผู้โค้งต้องประสานนัยน์ตากับอีกฝ่ายหนึ่ง ทั้งก่อนและหลังการโค้งคำนับUnderstanding body languageในการปฏิสัมพันธ์กับชาวต่างชาติ เราควรเรียนรู้ถึงลักษณะภาษากายต่าง ๆ เช่น สายตา สีหน้า ท่าทาง ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมของเขา เพื่อที่เราจะไม่ตีความผิด ในที่นี้ขอยกตัวอย่างใน 2 เรื่อง คือ “การมอง” และ “ระยะห่างของขอบเขต” ในเรื่อง “การมอง” ในแต่ละประเทศมีความหมายต่างกัน สังคมตะวันตกชอบที่จะมองตรง ๆ มากกว่าการมองเฉียด ๆ หรือหลบตา ถ้าจริงจัง จริงใจ ต้องจ้องตาคนที่จะพูดด้วย ส่วนการชำเลืองมองทางด้านข้าง ชาวสเปนและชาวอังกฤษ รู้กันว่าเป็นการมองแบบขโมย และมักใช้การมองเช่นนี้ เพื่อไม่ให้ถูกจับได้ว่ามองอยู่ ในสังคมชาวเปอโตริโก เด็กผู้หญิงที่ดี ต้องไม่มองตาผู้ใหญ่โดยเด็ดขาด และจะไม่พูดอะไรทั้งสิ้น เช่นเดียวกับในกลุ่มของคนเอเชีย เวลาพูดกันก็จะไม่ค่อยมองหน้ากัน ยิ่งถ้าเป็นผู้ใหญ่ มักจะยิ่งหลบตาลงต่ำ ส่วนเรื่อง “ระยะห่างของขอบเขต” ซึ่งหมายถึง พื้นที่ว่างตรงกลางระหว่างเรากับ ผู้ที่เรามีปฏิสัมพันธ์ด้วย ระยะห่างมาก หรือห่างน้อย จะเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม และเกี่ยวข้องกับความรู้สึก เช่น คนชั้นกลาง ที่อาศัยอยู่ในเมือง ในอเมริกาเหนือ อังกฤษ และออสเตรเลีย มักมีระยะห่างใกล้เคียงกัน แบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ ขอบเขตชั้นใน (ระหว่าง 6-8 นิ้ว) เป็นพื้นที่ส่วนตัวมากที่สุด อนุญาตเฉพาะคนที่มีความใกล้ชิดสนิทสนมเท่านั้นที่เข้ามาได้ ขอบเขตส่วนบุคคล (ระหว่าง 1.5-4 ฟุต) เป็นระยะที่เรามักจะใช้ยืนอยู่ในงานเลี้ยง งานสังคม งานสังสรรค์ในบริษัท และเมื่อเวลาเพื่อนฝูงมาชุมนุมกัน ขอบเขตสังคม (ระหว่าง 4-12 ฟุต) เป็นระยะที่เราใช้เมื่อยืนอยู่กับคนแปลกหน้า ขอบเขตในที่สาธารณะ (มากกว่า 12 ฟุต) ระยะนี้เป็นระยะที่เราเลือกเมื่อจะต้องออกไปพูดในที่ชุมนุมชน เพราะทำให้เรารู้สึกสบาย เมื่อต้องปฏิสัมพันธ์กับชาวต่างชาติ เราควรเรียนรู้ “ระยะห่าง” นี้ด้วยUnderstanding diversityAssimilated is important, we should learn, because religious belief is a result-oriented social manners and satisfaction-satisfaction. Assimilated, we should learn about such social manners in General, foreigners are the women arrived. Must get up stand and invited women to sit first. By selecting a seat, which I think should be the proper time to costume parties. Men wear a suit Women should wear a beautiful chutkraprong Religious practices, such as the Islamic people do not eat pork and do not touch the dogs and snakes because they are considered as dirty animals. Arabs in the Middle East, and India considered the left hand is not clean.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
This article is the transfer of experience. About the understanding of culture in various aspects of foreign. Which I think will be helpful to the students.. as follows:
.Understand the use of different languages
.Many times we didn't realize that foreigners even listen to language, but if in a different culture with us. Cannot understand the meaning we communicate. Or can be interpreted from the wrong meaning that we want the media, for example.. with "shooting fish in a barrel." but if we talk to foreigners, and direct translation, literally, "It 's easy as if we peel a banana and put. It into the mouth."They may not understand that why do we compare that this is because the society period. What is it easy eating banana But the society of foreigners are not so, or "concubine. We called" Minor wife. "For British society would be "Secret wife. Due to British society as a society." the husband only one wife. "When talking with the foreigners. May misinterpret. Hence, the Thai culture used to mix with other languages.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: