ประวัติมหาวิทยาลัย และส่วนสำคัญๆ ในมหาวิทยาลัย1. เป็นมหาวิทยาลัยที่สถา การแปล - ประวัติมหาวิทยาลัย และส่วนสำคัญๆ ในมหาวิทยาลัย1. เป็นมหาวิทยาลัยที่สถา อังกฤษ วิธีการพูด

ประวัติมหาวิทยาลัย และส่วนสำคัญๆ ใน

ประวัติมหาวิทยาลัย และส่วนสำคัญๆ ในมหาวิทยาลัย
1. เป็นมหาวิทยาลัยที่สถาปนาขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศไทย (ต่อจากจุฬาฯ และธรรมศาสตร์) แต่หลังจากนั้นอีก 5 วันก็มีการสถาปนามหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์(เปลี่ยนชื่อเป็น ม.มหิดล ในปี 2512)ขึ้น และอีก 8 เดือนต่อมา ก็มีการสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นอันว่าประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญเฉพาะทางครบทุกด้าน
2. วันสถาปนามหาวิทยาลัยคือ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 (สมัย ร.๘)
3. อธิการบดีคนแรกคือ หลวงสินธุสงครามชัย หรือ พลเรือเอกสินธุ์ กมลนาวิน หนึ่งในคณะราษฎร์
4. สามบูรพาจารย์หรือสามเสือเกษตรผู้ให้กำเนิดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คือ
(1) หลวงสุวรรณวาจกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์)
(2) หลวงอิงคศรีกสิการ (ศาสตราจารย์พิเศษ อินทรี จันทรสถิตย์)
(3) พระช่วงเกษตรศิลปาการ (ช่วง โลจายะ)
อาจารย์ม.เกษตรยุคแรกๆ ส่วนใหญ่จบมาจากฟิลลิปปินส์และอเมริกา จึงได้วัฒนธรรม SOTUS มาจากที่นั่น จะต่างจากธรรมศาสตร์ที่อาจารย์ส่วนใหญ่จบฝรั่งเศสเลยไม่มีวัฒนธรรม SOTUS
5. คณะแรกตั้งมี 4 คณะ คือ คณะเกษตร คณะวนศาสตร์ คณะประมง และคณะสหกรณ์ (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ และแยกเป็นคณะเศรษฐศาสตร์ และคณะบริหารธุรกิจตามลำดับ)
6. ตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย เป็นรูปพระพิรุณทรงนาค ด้านบนมีข้อความว่า “มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์” ด้านล่างมีข้อความว่า “พ.ศ. ๒๔๘๖” (ในห้องเชียร์จะให้ท่องแบบคำต่อคำตามที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ไปหาท่องกันเอาเองนะครับ55+)
7. อาคารประจำมหาวิทยาลัย คืออาคารหอประชุมใหญ่ ด้านหัวมุมถนนพหลโยธินและถนนงามวงศ์วาน เป็นศิลปะไทยประยุกต์ลดรูปเหมือนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ท่าพระจันทร์) ซึ่งได้ข่าวว่าเป็นความคิดของท่านจอมพล ป. ที่ท่านไม่อยากให้คงศิลปะไทยเต็มรูปแบบไว้มากเหมือนอาคารมหาจุฬาลงกรณ์ที่จุฬาฯ และลักษณะเด่นของอาคารคือ “จั่วสามมุข” ซึ่งจะปรากฎในหลายๆอาคารในมหาวิทยาลัยในเวลาต่อมา (ที่มาของจั่วสามมุขคือ สมัยที่เรายังเป็นโรงเรียนเกษตราธิการ เราใช้วังวินด์เซอร์เป็นที่ทำการ ซึ่งวังวินด์เซอร์ก็มีลักษณะอาคารเป็นจั่วสามมุขเหมือนกัน ปัจจุบันวังวินด์เซอร์ถูกรื้อสร้างสนามศุภชราศัย)
8. เพลงประจำมหาวิทยาลัย คือ “เพลงพระราชนิพนธ์เกษตรศาสตร์” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้วันที่ 17 ธันวาคม 2509 เป็น 1 ใน 3 เพลงประจำสถาบันที่เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ โดย ศ.ดร.ประเสริฐ ณ นคร เป็นผู้แต่งคำร้อง (ผู้แต่งเนื้อร้องเพลง “ใกล้รุ่ง” ซึ่งเสียงของไก่ในเพลงใกล้รุ่ง ก็คือเสียงของไก่ที่เกษตรบางเขนนี่แหล่ะ) ท่านใช้เวลาแต่งนานมาก เพราะของจุฬานั้นสง่างาม และของธรรมศาสตร์นั้นองอาจยิ่งนัก ส่วนของเกษตรเรา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงตรัสไว้ว่า “...เป็นเพลงที่อ่อนหวาน อ่อนหวานกว่าเพลงโน้ต แต่อ่อนหวาน นี่ไม่ได้หมายความว่าไม่เข้มแข็ง...”
9. ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย คือต้น “นนทรี” โดยมีการเลือกต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยจากต้นไม้ 4 ชนิด คือ ต้นทองกวาว ต้นราชพฤกษ์ ต้นพิกุล และต้นนนทรี
10. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงปลูกต้นนนทรีไว้ 9 ต้น บริเวณหน้าหอประชุมใหญ่ ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2506 (ฝั่งซ้ายของหอประชุม 5 ต้น ฝั่งขวา 4 ต้น) หลังจากนั้นก็ได้ทรงดนตรีต่อที่หอประชุมใหญ่ ชาวเกษตรจึงถือวันที่ 29 พฤศจิกายนของทุกปี เป็นวันที่ระลึก “นนทรีทรงปลูก ดนตรีทรงโปรด” ซึ่งในปัจจุบัน สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ฯ ก็ทรงมาทรงดนตรีที่อาคารจักรฯ กับนิสิตเกษตรทุกๆ ปี
11. สีประจำมหาวิทยาลัยคือ “สีเขียวใบไม้” (เขียวธรรมดาไม่ได้ ต้องเขียวใบไม้นะครับ ^^)
12. คำขวัญประจำมหาวิทยาลัยคือ “ประชาชนคือเจ้าของประเทศ เกษตรศาสตร์คือภาษีของประชาชน” (เนื่องจากต้องการให้นิสิตเกษตรทุกคนรำลึกว่า มหาวิทยาลัยเราก่อตั้งมาจากภาษีของประชาชน ดังนั้นนิสิตเกษตรต้องทำงานตอบแทนประชาชน)
13. คติพจน์ประจำมหาวิทยาลัยคือ “ศาสตร์แห่งแผ่นดิน” (มาจากคำว่า “เกษตร” ซึ่งแปลว่า “แผ่นดิน”)
14. สัตว์ประจำมหาวิทยาลัยคือ “ไก่” เพราะหลวงสุวรรณฯ ท่านได้ชื่อว่าเป็น “บิดาแห่งการเลี้ยงไก่ของไทย”
15. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มี 4 วิทยาเขตหลักๆ คือ
- วิทยาเขตบางเขน หรือ “เกษตรกลาง” มีพื้นที่แปดร้อยกว่าไร่ (มหาวิทยาลัยเรานับพื้นที่ยาก เพราะในเขตรั้วมหาวิทยาลัยมีกระทรวง กรม กอง และโรงเรียนปนกันเยอะไปหมด) เห็นว่าสมัยก่อนรั้วเราอยู่ติดกับทางรถไฟด้านถนนวิภาวดีฯ และรั้วอีกด้านอยู่กลางถนนงามวงศ์วานปัจจุบัน (เสียพื้นที่เพื่อส่วนรวมไปเยอะเหมือนกัน)
- วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม เริ่มก่อตั้งตั้งแต่ พ.ศ. 2510 บนพื้นที่แปดพันกว่าไร่ (ใหญ่กว่าบางเขนเป็นสิบเท่า) ต้นไม้ที่นี่ปลูกสองข้างถนนสวยงามมาก ทั้งชมพูพันธุ์ทิพย์ และนนทรี
- วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี เน้นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และบริหารธุรกิจ
- วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติสกลนคร จ.สกลนคร เป็นศูนย์กลางของเกษตรอีกแห่งในภาคอีสาน และยังมีสวนบัวสุดอลังการ รวมทั้งเปิดสาขาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพด้วย
16. สะดือเกษตรคือพระพิรุณทรงนาคหน้าหอสมุดเก่า
17. หมุดหลักเกษตรเป็นแท่นปูน 7 เหลี่ยมอยู่ตรงสนามหญ้าหน้าหอสมุดเก่า (ใครไม่รู้จะคิดว่าเป็นฝาส้วม 555)
18. แคปซูลเวลาอยู่ใต้ดินตรงรูปหล่อหยดน้ำ ไม่ได้อยู่ในหยดน้ำอย่างที่หลายๆคนเข้าใจ
19. ศาลา 8 เหลี่ยมนั้นไม่มี ที่เกษตรมีแต่ศาลา 6 เหลี่ยม (พูดผิดกันประจำ)
20. บูมของเกษตรอย่างเป็นทางการคือ AGGIE BOOM สั้นมาก เร็วมาก มันส์มาก
21. เศรษฐกิจพอเพียง เกิดขึ้นครั้งแรกที่นี่ โดยอยู่ในพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ปี 2517
22. พระราชกรณียกิจสุดท้ายของล้นเกล้ารัชกาลที่ ๘ คือทรงหว่านข้าวที่ทุ่งนาทดลองในเกษตรบางเขน (ทรงหว่านข้าววันที่ 5 มิถุนายน 2489 หลังจากนั้นอีก 4 วันก็เสด็จสวรรคต)
23. KU Band เป็นวงดนตรีสากลระดับมหาวิทยาลัยแรกของประเทศไทย และสมัยก่อนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะมาทรงดนตรีร่วมกับ KU Band บางครั้งก็ทรงมาช่วยติดตั้งเครื่องเสียงด้วย
24. รวมดาวกระจุย ก็เป็นวงลูกทุ่งระดับมหาวิทยาลัยวงแรกของประเทศไทยเหมือนกัน สมัยก่อนดังมากๆ รุ่นพ่อรุ่นแม่รู้จักกันทุกคน
25. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จเสด็จมาพระราชทานปริญญาับัตรที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งสุดท้ายในปี 2541
26. ชื่อมหาวิทยาลัย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติมหาวิทยาลัย และส่วนสำคัญๆ ในมหาวิทยาลัย1. เป็นมหาวิทยาลัยที่สถาปนาขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศไทย (ต่อจากจุฬาฯ และธรรมศาสตร์) แต่หลังจากนั้นอีก 5 วันก็มีการสถาปนามหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์(เปลี่ยนชื่อเป็น ม.มหิดล ในปี 2512)ขึ้น และอีก 8 เดือนต่อมา ก็มีการสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นอันว่าประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญเฉพาะทางครบทุกด้าน2. วันสถาปนามหาวิทยาลัยคือ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 (สมัย ร.๘)3. อธิการบดีคนแรกคือ หลวงสินธุสงครามชัย หรือ พลเรือเอกสินธุ์ กมลนาวิน หนึ่งในคณะราษฎร์4. สามบูรพาจารย์หรือสามเสือเกษตรผู้ให้กำเนิดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คือ (1) capital Suwan passive voice XI an (good re sanon) (2) capital Po khotri cultivating (Professor extraordinary Eagle chanthon static). (3) agricultural crafts range (the range, the range in the Jacuzzi logo) Most of the early agriculture teacher, m. end came from Phil and America has a culture of silica papin SOTUS came from there. It differs from the majority of teachers, Thammasat University ended with France culture SOTUS. 5. the first Committee of the Faculty of agriculture is set to 4, the Board is the Board of the Faculty of fisheries and forestry cooperatives (later renamed as the Faculty of Economics and business administration and a Faculty of Economics and business administration faculty, respectively).6. ตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย เป็นรูปพระพิรุณทรงนาค ด้านบนมีข้อความว่า “มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์” ด้านล่างมีข้อความว่า “พ.ศ. ๒๔๘๖” (ในห้องเชียร์จะให้ท่องแบบคำต่อคำตามที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ไปหาท่องกันเอาเองนะครับ55+)7. อาคารประจำมหาวิทยาลัย คืออาคารหอประชุมใหญ่ ด้านหัวมุมถนนพหลโยธินและถนนงามวงศ์วาน เป็นศิลปะไทยประยุกต์ลดรูปเหมือนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ท่าพระจันทร์) ซึ่งได้ข่าวว่าเป็นความคิดของท่านจอมพล ป. ที่ท่านไม่อยากให้คงศิลปะไทยเต็มรูปแบบไว้มากเหมือนอาคารมหาจุฬาลงกรณ์ที่จุฬาฯ และลักษณะเด่นของอาคารคือ “จั่วสามมุข” ซึ่งจะปรากฎในหลายๆอาคารในมหาวิทยาลัยในเวลาต่อมา (ที่มาของจั่วสามมุขคือ สมัยที่เรายังเป็นโรงเรียนเกษตราธิการ เราใช้วังวินด์เซอร์เป็นที่ทำการ ซึ่งวังวินด์เซอร์ก็มีลักษณะอาคารเป็นจั่วสามมุขเหมือนกัน ปัจจุบันวังวินด์เซอร์ถูกรื้อสร้างสนามศุภชราศัย)8. เพลงประจำมหาวิทยาลัย คือ “เพลงพระราชนิพนธ์เกษตรศาสตร์” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้วันที่ 17 ธันวาคม 2509 เป็น 1 ใน 3 เพลงประจำสถาบันที่เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ โดย ศ.ดร.ประเสริฐ ณ นคร เป็นผู้แต่งคำร้อง (ผู้แต่งเนื้อร้องเพลง “ใกล้รุ่ง” ซึ่งเสียงของไก่ในเพลงใกล้รุ่ง ก็คือเสียงของไก่ที่เกษตรบางเขนนี่แหล่ะ) ท่านใช้เวลาแต่งนานมาก เพราะของจุฬานั้นสง่างาม และของธรรมศาสตร์นั้นองอาจยิ่งนัก ส่วนของเกษตรเรา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงตรัสไว้ว่า “...เป็นเพลงที่อ่อนหวาน อ่อนหวานกว่าเพลงโน้ต แต่อ่อนหวาน นี่ไม่ได้หมายความว่าไม่เข้มแข็ง...”9. ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย คือต้น “นนทรี” โดยมีการเลือกต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยจากต้นไม้ 4 ชนิด คือ ต้นทองกวาว ต้นราชพฤกษ์ ต้นพิกุล และต้นนนทรี
10. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงปลูกต้นนนทรีไว้ 9 ต้น บริเวณหน้าหอประชุมใหญ่ ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2506 (ฝั่งซ้ายของหอประชุม 5 ต้น ฝั่งขวา 4 ต้น) หลังจากนั้นก็ได้ทรงดนตรีต่อที่หอประชุมใหญ่ ชาวเกษตรจึงถือวันที่ 29 พฤศจิกายนของทุกปี เป็นวันที่ระลึก “นนทรีทรงปลูก ดนตรีทรงโปรด” ซึ่งในปัจจุบัน สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ฯ ก็ทรงมาทรงดนตรีที่อาคารจักรฯ กับนิสิตเกษตรทุกๆ ปี
11. สีประจำมหาวิทยาลัยคือ “สีเขียวใบไม้” (เขียวธรรมดาไม่ได้ ต้องเขียวใบไม้นะครับ ^^)
12. คำขวัญประจำมหาวิทยาลัยคือ “ประชาชนคือเจ้าของประเทศ เกษตรศาสตร์คือภาษีของประชาชน” (เนื่องจากต้องการให้นิสิตเกษตรทุกคนรำลึกว่า มหาวิทยาลัยเราก่อตั้งมาจากภาษีของประชาชน ดังนั้นนิสิตเกษตรต้องทำงานตอบแทนประชาชน)
13. คติพจน์ประจำมหาวิทยาลัยคือ “ศาสตร์แห่งแผ่นดิน” (มาจากคำว่า “เกษตร” ซึ่งแปลว่า “แผ่นดิน”)
14. สัตว์ประจำมหาวิทยาลัยคือ “ไก่” เพราะหลวงสุวรรณฯ ท่านได้ชื่อว่าเป็น “บิดาแห่งการเลี้ยงไก่ของไทย”
15. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มี 4 วิทยาเขตหลักๆ คือ
- วิทยาเขตบางเขน หรือ “เกษตรกลาง” มีพื้นที่แปดร้อยกว่าไร่ (มหาวิทยาลัยเรานับพื้นที่ยาก เพราะในเขตรั้วมหาวิทยาลัยมีกระทรวง กรม กอง และโรงเรียนปนกันเยอะไปหมด) เห็นว่าสมัยก่อนรั้วเราอยู่ติดกับทางรถไฟด้านถนนวิภาวดีฯ และรั้วอีกด้านอยู่กลางถนนงามวงศ์วานปัจจุบัน (เสียพื้นที่เพื่อส่วนรวมไปเยอะเหมือนกัน)
- วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม เริ่มก่อตั้งตั้งแต่ พ.ศ. 2510 บนพื้นที่แปดพันกว่าไร่ (ใหญ่กว่าบางเขนเป็นสิบเท่า) ต้นไม้ที่นี่ปลูกสองข้างถนนสวยงามมาก ทั้งชมพูพันธุ์ทิพย์ และนนทรี
- วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี เน้นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และบริหารธุรกิจ
- วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติสกลนคร จ.สกลนคร เป็นศูนย์กลางของเกษตรอีกแห่งในภาคอีสาน และยังมีสวนบัวสุดอลังการ รวมทั้งเปิดสาขาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพด้วย
16. สะดือเกษตรคือพระพิรุณทรงนาคหน้าหอสมุดเก่า
17. หมุดหลักเกษตรเป็นแท่นปูน 7 เหลี่ยมอยู่ตรงสนามหญ้าหน้าหอสมุดเก่า (ใครไม่รู้จะคิดว่าเป็นฝาส้วม 555)
18. แคปซูลเวลาอยู่ใต้ดินตรงรูปหล่อหยดน้ำ ไม่ได้อยู่ในหยดน้ำอย่างที่หลายๆคนเข้าใจ
19. ศาลา 8 เหลี่ยมนั้นไม่มี ที่เกษตรมีแต่ศาลา 6 เหลี่ยม (พูดผิดกันประจำ)
20. บูมของเกษตรอย่างเป็นทางการคือ AGGIE BOOM สั้นมาก เร็วมาก มันส์มาก
21. เศรษฐกิจพอเพียง เกิดขึ้นครั้งแรกที่นี่ โดยอยู่ในพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ปี 2517
22. พระราชกรณียกิจสุดท้ายของล้นเกล้ารัชกาลที่ ๘ คือทรงหว่านข้าวที่ทุ่งนาทดลองในเกษตรบางเขน (ทรงหว่านข้าววันที่ 5 มิถุนายน 2489 หลังจากนั้นอีก 4 วันก็เสด็จสวรรคต)
23. KU Band เป็นวงดนตรีสากลระดับมหาวิทยาลัยแรกของประเทศไทย และสมัยก่อนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะมาทรงดนตรีร่วมกับ KU Band บางครั้งก็ทรงมาช่วยติดตั้งเครื่องเสียงด้วย
24. รวมดาวกระจุย ก็เป็นวงลูกทุ่งระดับมหาวิทยาลัยวงแรกของประเทศไทยเหมือนกัน สมัยก่อนดังมากๆ รุ่นพ่อรุ่นแม่รู้จักกันทุกคน
25. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จเสด็จมาพระราชทานปริญญาับัตรที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งสุดท้ายในปี 2541
26. ชื่อมหาวิทยาลัย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
History of the University, and the core of University
1.The college established is the 3 Thailand (from Cu jurisprudence), but then again 5 days is the establishment of the University of Medicine (the name was changed. M.Mahidol University in 2512), and another 8 months later, it has established the University. It is the University of excellence in all the aspects. The establishment of the university is 2
2 February 2486 (period.))
3.The president was first หลวงสินธุสงครามชัย or admiral tus. Kamolnavin. One of rat
4.? Three first teachers or agricultural university is the mother tiger
(1) the economic capital D. Automobile resanond)
.(2) หลวงอิงคศรีกสิการ (emeritus professor, eagle, chandrasatit)
(3) of the agriculture in (the lochaya)
teacher.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: