ภาวะสมองเสื่อมภาวะสมองเสื่อม หรือ Dementia เป็นคำที่แพทย์ใช้อธิบายกลุ่ การแปล - ภาวะสมองเสื่อมภาวะสมองเสื่อม หรือ Dementia เป็นคำที่แพทย์ใช้อธิบายกลุ่ อังกฤษ วิธีการพูด

ภาวะสมองเสื่อมภาวะสมองเสื่อม หรือ D

ภาวะสมองเสื่อม

ภาวะสมองเสื่อม หรือ Dementia เป็นคำที่แพทย์ใช้อธิบายกลุ่มอาการของโรคทางสมองหลายโรค โดยเฉพาะโรคอัลไซเมอร์ซึ่งถือเป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบมากที่สุดคือร้อยละ 50 - 703 ส่วนภาวะสมองเสื่อมชนิดอื่น ๆ ที่พบรองลงมา ได้แก่
ภาวะสมองเสื่อมจากความผิดปกติของหลอดเลือดสมอง เช่น โรคหลอดเลือดสมองตีบ
ภาวะสมองเสื่อมจากการพัฒนาของโปรตีนที่ผิดปกติภายในเซลล์สมอง (Lewy Body Dementia)
ภาวะสมองเสื่อมแบบ Frontotemporal ซึ่งเป็นความปกติที่เกิดขึ้นด้านหน้าและด้านข้างของสมอง
ภาวะสมองเสื่อมแบบผสมซึ่งเกิxดจากสาเหตุมากกว่าหนึ่งสาเหตุ ส่วนใหญ่เกิดจากโรคอัลไซเมอร์ร่วมกับภาวะสมองเสื่อมจากความผิดปกติของหลอดเลือดสมอง
นอกจากนี้แล้ว ยังมีสาเหตุอื่น ๆ ที่นำไปสู่ภาวะสมองเสื่อมได้ ไม่ว่าจะเป็นโรคพาร์กินสัน โรค Creutzfeldt-Jakob การขาดสารอาหารอย่างรุนแรง การได้รับสารพิษ สมองขาดออกซิเจน มีเนื้องอกในสมอง สมองติดเชื้อ สมองกระทบกระเทือน สมองฝ่อ และการติดสุราเรื้อรัง เป็นต้น

ภาวะสมองเสื่อมอาจพบมากในกลุ่มผู้สูงอายุ แม้จะเป็นภาวะที่ไม่ได้มาพร้อมกับความชราเสมอไป ทั้งนี้อาการทั่วไปของผู้ป่วยมักเริ่มจากการไม่สามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ เช่น พูดไม่เป็นประโยค ไม่สามารถรับประทานอาหารหรือแต่งตัวได้เอง วางสิ่งของผิดที่ วางแผนล่วงหน้าไม่ได้ จำเวลาและสถานที่ไม่ได้ จดจำเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้นไม่ได้ เมื่ออาการมากขึ้นจะเกิดพฤติกรรมแปรปรวน หวาดระแวง รวมถึงเห็นภาพหลอน

นพ. ศิริชัย นิรมานสกุล ผู้เชี่ยวชาญโรคทางระบบประสาท กล่าวถึงข้อบ่งชี้ของภาวะสมองเสื่อมไว้ว่า “ผู้ป่วยจะต้องมีอาการบกพร่องทางสมองสองอย่างขึ้นไป เช่น สูญเสียความทรงจำร่วมกับสูญเสียความสามารถในการใช้ภาษา ดังนั้นผู้ป่วยที่สูญเสียความทรงจำเพียงอย่างเดียวอาจไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มที่มีภาวะสมองเสื่อมก็ได้”

แม้ปัจจุบันยังไม่มียารักษาภาวะสมองเสื่อมหรือซ่อมแซมสมองที่เสียหาย แต่การทราบสาเหตุที่ชัดเจนของโรคทำให้แพทย์สามารถให้ยารักษาตามอาการและชะลออาการของโรคไม่ให้แย่ลงอย่างรวดเร็วและที่ละเลยไม่ได้คือ ผู้ป่วยต้องมีผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด รวมทั้งอยู่ในสภาพแวดล้อมที่คุ้นเคยและปลอดภัย
โรคอัลไซเมอร์

26.6 ล้านคน4 คือจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคอัลไซเมอร์หรือโรคความจำเสื่อมทั่วโลก จากการสำรวจครั้งล่าสุดเมื่อปี 2006 ขณะที่ในประเทศไทยตัวเลขผู้ป่วยรายงานโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขเมื่อต้นปี 2009 อยู่ที่กว่า 1 ล้านคนและมีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต

ว่ากันว่า เราทุกคนเกิดมาพร้อมกับโอกาสที่จะเป็นโรคอัลไซเมอร์ราวร้อยละ 10 - 155 ซึ่งโอกาสนี้จะเพิ่มมากขึ้นพร้อม ๆ กับวัยที่มากขึ้นโดยเฉพาะเมื่ออายุ 65 ปีขึ้นไป และความจริงที่น่าเศร้าก็คือ อัลไซเมอร์เป็นโรคที่เกิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมซึ่งยากจะป้องกัน ปัจจุบันยังไม่อาจรักษาให้หายได้ และเป็นอันตรายถึงชีวิต

“โรคอัลไซเมอร์เกิดจากการที่เซลล์สมองถูกทำลายโดยไม่มีการสร้างเซลล์ใหม่ขึ้นทดแทน ส่งผลให้ผู้ป่วยมีความบกพร่องทางสมองในส่วนของสติปัญญา เช่น ความคิด ความจำ และการตัดสินใจ ในขณะที่สมองส่วนที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวยังใช้การได้ดี” นพ. ศิริชัย กล่าว

สำหรับอาการของอัลไซเมอร์นั้นอาจแบ่งตามระยะของโรคได้คร่าว ๆ เป็น 3 ระยะคือ ระยะแรกเริ่ม ซึ่งผู้ป่วยจะเริ่มสูญเสียความทรงจำระยะสั้น ไม่สามารถจำอะไรใหม่ ๆ ได้ และจะเริ่มจำเหตุการณ์ในอดีตไม่ได้ ในที่สุดก็จะจำไม่ได้ว่าสิ่งที่อยู่ตรงหน้าคืออะไร
   
 ส่วนระยะกลาง ผู้ป่วยจะเริ่มเห็นภาพหลอน หูแว่ว มีพฤติกรรมก้าวร้าว ถ้าถูกปล่อยให้อยู่คนเดียว ก็อาจเดินออกจากบ้านแล้วหาทางกลับบ้านไม่ได้เลย และในระยะสุดท้าย สมองจะถูกทำลายจนไม่สามารถควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของร่างกายและเสียชีวิตในที่สุด ซึ่งอาจกินเวลา 3 - 20 ปีนับตั้งแต่เริ่มมีอาการ

ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์โดยตรง แต่เราสามารถรักษาอาการของโรคและช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ด้วยการให้ยาบางชนิดที่ช่วยชะลอความเสื่อมของสมอง และฟื้นฟูการสื่อสารระหว่างเซลล์สมอง อาจใช้ร่วมกับยานอนหลับ ยาลดอาการซึมเศร้า การทำจิตบำบัด ทำสมาธิ และการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
โรคพาร์กินสัน

พาร์กินสันเป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมองที่พบได้บ่อยรองจากโรคอัลไซเมอร์ จากสถิติแล้ว ประชากรโลกทุก ๆ 1,000 คนจะมีผู้ป่วยโรคพาร์กินสันประมาณ 1 - 2 คน6 โดยพบมากในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป เพศชายมากกว่าหญิง และส่วนใหญ่เป็นชาวยุโรปและอเมริกาเหนือ

โรคพาร์กินสันเป็นผลมาจากการตายของเซลล์สมองซึ่งทำหน้าที่ผลิตสารเคมีที่เรียกว่า โดปามีน (Dopamine) ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ เมื่อระดับของโดปามีนลดลง การควบคุมกล้ามเนื้อก็ยากขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการสั่นบริเวณมือ แขน ขา ขากรรไกร เคลื่อนไหวช้า ขยับแขนขา แสดงท่าทางและเดินลำบาก

นอกจากนี้ผู้ป่วยยังมีอาการซึมเศร้า วิตกกังวล สูญเสียความทรงจำ นอนไม่หลับ พูดช้า เคี้ยวหรือกลืนยาก ท้องผูก ควบคุมปัสสาวะไม่อยู่ มีอาการชา ปวดกล้ามเนื้อ และเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ

“แม้พาร์กินสันจะเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถป้องกันหรือรักษาให้หายขาดได้ แต่การที่เราทราบสาเหตุของโรค ทำให้มีทางเลือกในการรักษามากกว่าโรคทางสมองและระบบประสาทอื่น ๆ โดยเฉพาะการให้ยาเพิ่มปริมาณโดปามีน และเสริมโดปามีนร่วมกับยารักษาอาการร่วม เช่น ซึมเศร้า นอกจากนี้การออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่เหมาะสมจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรงและควบคุมการเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น” นพ. ศิริชัย อธิบาย

อีกทางเลือกหนึ่งในการรักษาโรคพาร์กินสัน ได้แก่ การรักษาด้วยการผ่าตัดแบบกระตุ้นด้วยไฟฟ้า หรือ Deep Brain Stimulation (DBS) ซึ่งมีข้อจำกัดอยู่ที่ยังไม่สามารถใช้ได้กับผู้ป่วยทุกราย แพทย์จะเป็นผู้แนะนำแนวทางในการรักษาเฉพาะบุคคลต่อไป
โรคลมชัก

โรคทางสมองและระบบประสาทที่พบมากอีกโรคหนึ่งคือ โรคลมชัก ซึ่งมีผู้ป่วยทั่วโลกมากถึง 50 ล้านคน7 ขณะที่ในประเทศไทยพบราวร้อยละ 1 ของจำนวนประชากรทั้งหมดหรือประมาณ 6 - 7 แสนคน8 โดยพบได้ทั้งเพศหญิงและชายทุกช่วงอายุ

โรคลมชักเกิดจากความผิดปกติของกระแสไฟฟ้าในสมอง ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ อาทิ พันธุกรรม สมองพิการแต่กำเนิด พยาธิในสมอง เส้นเลือดสมองผิดปกติ สมองได้รับความกระทบ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
DementiaDementia or Dementia is a medical term used to describe the syndrome of many brain diseases, in particular Alzheimer disease, which is believed to be the most common dementia is 50 per cent-other types of dementia section 703 found secondary:Dementia due to vascular brain disorders, such as stroke sounds.Dementia due to the development of abnormal proteins within the cells of the brain (Lewy Body Dementia)Frontotemporal Dementia, which is a normally occurring on the front and sides of the brain.ภาวะสมองเสื่อมแบบผสมซึ่งเกิxดจากสาเหตุมากกว่าหนึ่งสาเหตุ ส่วนใหญ่เกิดจากโรคอัลไซเมอร์ร่วมกับภาวะสมองเสื่อมจากความผิดปกติของหลอดเลือดสมองนอกจากนี้แล้ว ยังมีสาเหตุอื่น ๆ ที่นำไปสู่ภาวะสมองเสื่อมได้ ไม่ว่าจะเป็นโรคพาร์กินสัน โรค Creutzfeldt-Jakob การขาดสารอาหารอย่างรุนแรง การได้รับสารพิษ สมองขาดออกซิเจน มีเนื้องอกในสมอง สมองติดเชื้อ สมองกระทบกระเทือน สมองฝ่อ และการติดสุราเรื้อรัง เป็นต้นภาวะสมองเสื่อมอาจพบมากในกลุ่มผู้สูงอายุ แม้จะเป็นภาวะที่ไม่ได้มาพร้อมกับความชราเสมอไป ทั้งนี้อาการทั่วไปของผู้ป่วยมักเริ่มจากการไม่สามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ เช่น พูดไม่เป็นประโยค ไม่สามารถรับประทานอาหารหรือแต่งตัวได้เอง วางสิ่งของผิดที่ วางแผนล่วงหน้าไม่ได้ จำเวลาและสถานที่ไม่ได้ จดจำเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้นไม่ได้ เมื่ออาการมากขึ้นจะเกิดพฤติกรรมแปรปรวน หวาดระแวง รวมถึงเห็นภาพหลอนนพ. ศิริชัย นิรมานสกุล ผู้เชี่ยวชาญโรคทางระบบประสาท กล่าวถึงข้อบ่งชี้ของภาวะสมองเสื่อมไว้ว่า “ผู้ป่วยจะต้องมีอาการบกพร่องทางสมองสองอย่างขึ้นไป เช่น สูญเสียความทรงจำร่วมกับสูญเสียความสามารถในการใช้ภาษา ดังนั้นผู้ป่วยที่สูญเสียความทรงจำเพียงอย่างเดียวอาจไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มที่มีภาวะสมองเสื่อมก็ได้”แม้ปัจจุบันยังไม่มียารักษาภาวะสมองเสื่อมหรือซ่อมแซมสมองที่เสียหาย แต่การทราบสาเหตุที่ชัดเจนของโรคทำให้แพทย์สามารถให้ยารักษาตามอาการและชะลออาการของโรคไม่ให้แย่ลงอย่างรวดเร็วและที่ละเลยไม่ได้คือ ผู้ป่วยต้องมีผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด รวมทั้งอยู่ในสภาพแวดล้อมที่คุ้นเคยและปลอดภัยโรคอัลไซเมอร์

26.6 ล้านคน4 คือจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคอัลไซเมอร์หรือโรคความจำเสื่อมทั่วโลก จากการสำรวจครั้งล่าสุดเมื่อปี 2006 ขณะที่ในประเทศไทยตัวเลขผู้ป่วยรายงานโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขเมื่อต้นปี 2009 อยู่ที่กว่า 1 ล้านคนและมีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต

ว่ากันว่า เราทุกคนเกิดมาพร้อมกับโอกาสที่จะเป็นโรคอัลไซเมอร์ราวร้อยละ 10 - 155 ซึ่งโอกาสนี้จะเพิ่มมากขึ้นพร้อม ๆ กับวัยที่มากขึ้นโดยเฉพาะเมื่ออายุ 65 ปีขึ้นไป และความจริงที่น่าเศร้าก็คือ อัลไซเมอร์เป็นโรคที่เกิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมซึ่งยากจะป้องกัน ปัจจุบันยังไม่อาจรักษาให้หายได้ และเป็นอันตรายถึงชีวิต

“โรคอัลไซเมอร์เกิดจากการที่เซลล์สมองถูกทำลายโดยไม่มีการสร้างเซลล์ใหม่ขึ้นทดแทน ส่งผลให้ผู้ป่วยมีความบกพร่องทางสมองในส่วนของสติปัญญา เช่น ความคิด ความจำ และการตัดสินใจ ในขณะที่สมองส่วนที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวยังใช้การได้ดี” นพ. ศิริชัย กล่าว

สำหรับอาการของอัลไซเมอร์นั้นอาจแบ่งตามระยะของโรคได้คร่าว ๆ เป็น 3 ระยะคือ ระยะแรกเริ่ม ซึ่งผู้ป่วยจะเริ่มสูญเสียความทรงจำระยะสั้น ไม่สามารถจำอะไรใหม่ ๆ ได้ และจะเริ่มจำเหตุการณ์ในอดีตไม่ได้ ในที่สุดก็จะจำไม่ได้ว่าสิ่งที่อยู่ตรงหน้าคืออะไร
   
 ส่วนระยะกลาง ผู้ป่วยจะเริ่มเห็นภาพหลอน หูแว่ว มีพฤติกรรมก้าวร้าว ถ้าถูกปล่อยให้อยู่คนเดียว ก็อาจเดินออกจากบ้านแล้วหาทางกลับบ้านไม่ได้เลย และในระยะสุดท้าย สมองจะถูกทำลายจนไม่สามารถควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของร่างกายและเสียชีวิตในที่สุด ซึ่งอาจกินเวลา 3 - 20 ปีนับตั้งแต่เริ่มมีอาการ

ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์โดยตรง แต่เราสามารถรักษาอาการของโรคและช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ด้วยการให้ยาบางชนิดที่ช่วยชะลอความเสื่อมของสมอง และฟื้นฟูการสื่อสารระหว่างเซลล์สมอง อาจใช้ร่วมกับยานอนหลับ ยาลดอาการซึมเศร้า การทำจิตบำบัด ทำสมาธิ และการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
โรคพาร์กินสัน

พาร์กินสันเป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมองที่พบได้บ่อยรองจากโรคอัลไซเมอร์ จากสถิติแล้ว ประชากรโลกทุก ๆ 1,000 คนจะมีผู้ป่วยโรคพาร์กินสันประมาณ 1 - 2 คน6 โดยพบมากในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป เพศชายมากกว่าหญิง และส่วนใหญ่เป็นชาวยุโรปและอเมริกาเหนือ

โรคพาร์กินสันเป็นผลมาจากการตายของเซลล์สมองซึ่งทำหน้าที่ผลิตสารเคมีที่เรียกว่า โดปามีน (Dopamine) ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ เมื่อระดับของโดปามีนลดลง การควบคุมกล้ามเนื้อก็ยากขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการสั่นบริเวณมือ แขน ขา ขากรรไกร เคลื่อนไหวช้า ขยับแขนขา แสดงท่าทางและเดินลำบาก

นอกจากนี้ผู้ป่วยยังมีอาการซึมเศร้า วิตกกังวล สูญเสียความทรงจำ นอนไม่หลับ พูดช้า เคี้ยวหรือกลืนยาก ท้องผูก ควบคุมปัสสาวะไม่อยู่ มีอาการชา ปวดกล้ามเนื้อ และเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ

“แม้พาร์กินสันจะเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถป้องกันหรือรักษาให้หายขาดได้ แต่การที่เราทราบสาเหตุของโรค ทำให้มีทางเลือกในการรักษามากกว่าโรคทางสมองและระบบประสาทอื่น ๆ โดยเฉพาะการให้ยาเพิ่มปริมาณโดปามีน และเสริมโดปามีนร่วมกับยารักษาอาการร่วม เช่น ซึมเศร้า นอกจากนี้การออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่เหมาะสมจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรงและควบคุมการเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น” นพ. ศิริชัย อธิบาย

อีกทางเลือกหนึ่งในการรักษาโรคพาร์กินสัน ได้แก่ การรักษาด้วยการผ่าตัดแบบกระตุ้นด้วยไฟฟ้า หรือ Deep Brain Stimulation (DBS) ซึ่งมีข้อจำกัดอยู่ที่ยังไม่สามารถใช้ได้กับผู้ป่วยทุกราย แพทย์จะเป็นผู้แนะนำแนวทางในการรักษาเฉพาะบุคคลต่อไป
โรคลมชัก

โรคทางสมองและระบบประสาทที่พบมากอีกโรคหนึ่งคือ โรคลมชัก ซึ่งมีผู้ป่วยทั่วโลกมากถึง 50 ล้านคน7 ขณะที่ในประเทศไทยพบราวร้อยละ 1 ของจำนวนประชากรทั้งหมดหรือประมาณ 6 - 7 แสนคน8 โดยพบได้ทั้งเพศหญิงและชายทุกช่วงอายุ

โรคลมชักเกิดจากความผิดปกติของกระแสไฟฟ้าในสมอง ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ อาทิ พันธุกรรม สมองพิการแต่กำเนิด พยาธิในสมอง เส้นเลือดสมองผิดปกติ สมองได้รับความกระทบ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Dementia Dementia or Dementia is the term doctors use to describe a syndrome of brain diseases. The disease, Alzheimer's, a dementia, the most common is the percentage 50-703 of dementia other common, followed by dementia from disorders such as stroke. stroke , dementia, from the development of abnormal proteins in the brain cells (Lewy Body Dementia) with dementia. Frontotemporal Which is normally happens in front and side of the brain , which singles x mixed dementia caused by more than one cause. Most cases of Alzheimer's disease with dementia, disorders of cerebral addition. There are other causes that lead to dementia. Whether it is a disease, Parkinson's disease, Creutzfeldt-Jakob. Severe malnutrition The poisoning Brain hypoxia Brain tumors, brain concussion vCJD infection and chronic alcoholics. Or dementia may be more common among the elderly. Despite a condition that comes with aging is not always the case. The most common symptoms of patients from not being able to do daily activities normally say such a sentence. Unable to eat or dress himself. Place the offense Not planning ahead Remember the time and place is not. Remembering the events that just can not happen. When symptoms are more behavioral disturbances, including hallucinations, paranoia, MD. Sirichai Nirman currency specialist neurological diseases. The indications of dementia that. "The patient must have two or more mental impairment such as memory loss, with loss of the ability to use language. Therefore, patients with memory loss alone may not be classified as having dementia were " Although there is currently no cure for dementia or repair brain damage. But the apparent cause of the disease, doctors can treat the symptoms and slow the disease does not get worse very quickly, and that is not neglect. Patients require close monitoring. The hotel is in a familiar environment and safety Alzheimer's Disease 26.6 million four is the number of patients with Alzheimer's disease or Alzheimer disease worldwide. From the last survey in 2006, while in patient numbers reported by the Health Systems Research Institute in early 2009 to more than 1 million people and is expected to increase in the future as well. We are all born with the potential to be a disease of Alzheimer's is around 10 percent - 155 of which will be increased with age, especially at the age of 65 years and the truth. SAD is Alzheimer's is a disease caused by genetic factors, which are difficult to prevent. It is currently not curable. And fatal "disease of Alzheimer's is caused by the destruction of brain cells without creating new cells to replace. As a result, patients with mental impairment in the brain such as memory, thinking and decision making. As part of the brain associated with movement to the well ". Dr. Sirichai said for the symptoms of Alzheimer's can be broken down by stage of disease, roughly a third phase is the initial phase in which the patient is. the loss of short term memory. Can not remember anything new and will not begin to remember past events. Finally, it is not even remember what the front is  the medium term. Patients begin to see aggressive behavior, hallucinations, auditory hallucination. I was left alone. You could walk out of the house and can not find his way home. And in the final term The brain is destroyed and unable to control the various functions of the body and ultimately death. This may take 3-20 years from the onset, there is currently no way to treat Alzheimer's disease directly. But we can treat disease and help patients improve their quality of life by giving certain drugs that help slow the degeneration of the brain. And improve communication between brain cells. May be combined with sleeping pills. Depression Drug The psychotherapist, meditation and regular exercise Parkinson's Disease Parkinson's disease is caused by degeneration of the brain, the most common secondary disease, Alzheimer's at the statistics, the world population every 1,000 people. Patients with Parkinson's disease for about 1-2 people with 6 more common in people aged 50 years or more males than females. And most of the European and North American Parkinson's disease results from the death of brain cells, which act as chemical called dopamine (Dopamine), which serves to control the movement of muscles. When levels of dopamine fall. Muscle control is more difficult. As a result, patients with a tremor in the hands, arms, legs, jaw, slow moving arms, legs, posture and difficulty walking Additionally, patients also have depression, anxiety, loss of memory, insomnia, speaking slowly, chewing or swallowing, constipation. incontinence symptoms, muscle pain. And sexual dysfunction "Although Parkinson's is a chronic disease that can not be prevented or cured. But we know the cause of the disease. Make a choice in the treatment of diseases of the brain and nervous system than others, especially the drug increased dopamine. And enhancing dopamine with concomitant medications such as antidepressants, also exercise. Eating the right foods will help keep the body healthy and motion control can be improved ". Dr. Sirichai explains alternative in the treatment of Parkinson's disease are treated with surgery, electrical stimulation, or Deep Brain Stimulation (DBS). The restrictions are not applicable to all patients. Your doctor will recommend guidelines for individual treatment to epilepsy, brain disease and neurological disorders are very common a disease is epilepsy, which offers patients around the world, 50 million people 7 as found in the rail. 1 percent of the total population, or about 6-7 hundred and eight people were found in both males and females of all ages Epilepsy is caused by abnormal electrical currents in the brain. This happens for several reasons including genetic, congenital cerebral vascular disease in the brain, brain disorders. Brain has been affected






















   


















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Dementia

.Dementia or Dementia words used to describe the syndrome of medical diseases of the brain for many diseases. Especially Alzheimer's disease, which is the most common dementia were 50 - 703 part of Alzheimer's disease and other species are found respectively. :
.Dementia of vascular anomalies, such as ischemic stroke, brain ภาวะสมองเสื่อมจาก development of abnormal proteins in the brain. (Lewy Body Dementia)
.A Frontotemporal dementia. Which is what usually happens in front and sides of the brain
.Mixed dementia which come from more than one X cause cause. Is mainly caused by Alzheimer's disease with dementia from cerebrovascular disorders
.In addition, there are other causes leading to dementia. Whether it is for Parkinson's disease Creutzfeldt-Jakob malnutrition severe poisoning, brain lacking oxygen, brain tumor. Brain infection, brain trauma.Chronic alcoholism and etc.
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: