1. introduction1.1 background and importanceผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุ๊ค (Facebook) ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ รวมถึงศึกษาการใช้ประโยชน์ ภัย และผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตด้านการศึกษาที่นักศึกษาได้รับจากการใช้เฟสบุ๊ค (Facebook) ดังเช่น การเข้าเรียน ความสนใจในการเรียน สมาธิในการเรียน การทำงานกลุ่มและทำงานเดี่ยว การทบทวนบทเรียน การเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน และผลการเรียน ผลกระทบด้านกิจกรรมต่างๆ ดังเช่น การใช้เวลาว่าง วันหยุด งานอดิเรก การออกกำลังกาย การกิน การนอน และการอยู่ร่วมในสังคม ทั้งนี้ เพื่อจะได้นำข้อมูลที่ได้มาทำความเข้าใจพฤติกรรมการสื่อสารในเครือข่ายสังคมออนไลน์ และหาแนวทางการแก้ไขปัญหาให้เหมาะสม1.2 the purpose of the research. 1.) to study the use of Facebook's Chiang Mai rajabhat University students. 2) to study the impact of using Facebook Per student life Chiang Mai rajabhat 3.) to learn to take advantage of Facebook's use of Chiang Mai rajabhat students.1.3 scope of research.Population groups. Undergraduate students of Chiang Mai rajabhat University Facebook users in the.Level 1-4 semester 2/2558 (2015)Sample group. Undergraduate students who used Facebook in Chiang Mai rajabhat University. The number of 50 people.1.4 benefits from research.1) indicates the behavior using the Facebook of Chiang Mai rajabhat University students.2.), aware of the impact of the use of Facebook connect the life of Chiang Mai rajabhat University students.3) indicates the benefit from using Facebook's Chiang Mai rajabhat University students.4 study results) as a guide to those interested in the.2. documents and related research.This research is a study of student's use of Facebook and Facebook usage that affects the life of Chiang Mai rajabhat University students. Researchers have studied research based on theoretical concepts and research that involves covering the following topics, respectively.Basic knowledge about 2) Facebook1.1) history, founder of FacebookFacebook symbols, 1.2).1.3) to resume use Facebook1.4) the Facebook menu1.5) ethics in using Facebook2) social2.1) the meaning of the social2.2) stream popularity using Facebook in the country-Thailand.2.3) ผลกระทบจากการใช้เฟสบุ๊ค2.4) ผลประโยชน์จากการใช้เฟสบุ๊ค3) พฤติกรรมการดำรงชีวิต3.1) ความหมายของการดำรงชีวิต3.2) ความหมายของพฤติกรรม4) แนวคิดเกี่ยวกับวัยรุ่น4.1) ความหมายของวัยรุ่น4.2) พัฒนาการของวัยรุ่น5) งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3. ระเบียบการทำวิจัยการศึกษาข้อมูลจากเอกสาร ตำราวิชาการ แนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ส่วนที่ 1 แบบสอบถาม พฤติกรรมการใช้เฟสบุ๊คของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ตอนคือตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างตอนที่ 2 แบบสอบถามข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้เฟสบุ๊คตอนที่ 3 แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้เฟสบุ๊คตอนที่ 4 แบบสอบถามผลประโยชน์เมื่อใช้เฟสบุ๊คตอนที่ 5 แบบสอบถามผลกระทบด้านการดำเนินชีวิตและด้านการศึกษาเมื่อใช้เฟสบุ๊คส่วนที่ 2 การประชุมกลุ่ม คือ การประชุมกลุ่มย่อย เพื่อหารูปแบบและรายละเอียด พฤติกรรมการใช้เฟสบุ๊ค ผลกระทบด้านบวกและด้านลบต่อการดำรงชีวิตของนักศึกษา ทั้งในด้านการศึกษา และด้านกิจกรรมการใช้ชีวิต เพื่อยืนยันกับข้อมูลเชิงปริมาณที่ได้มาส่วนที่ 3 แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้เฟสบุ๊คของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีดังนี้แบบสอบถาม คือ การนำแบบสอบถามไปทดลองใช้กับนักศึกษาชายและหญิง ที่กำลังศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เพื่อวิเคราะห์หาคุณภาพของเครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการใช้การสุ่มตัวอย่างตามวัตถุประสงค์ จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 50 คน1. ผู้วิจัยแจกแบบสอบและอธิบายเกี่ยวกับการตอบแบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่าง โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ว่างจากการเรียนและทำกิจกรรมต่างๆในชั่วโมงว่าง โดยผู้วิจัยได้เลือกสถานที่เก็บคือตามบริเวณมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่2. ผู้วิจัยรับแบบสอบถามคืนจากกลุ่มตัวอย่างหลังจากกรอกแบบสอบถามเสร็จแล้ว ตรวจข้อมูลให้ครบถ้วนและนำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ต่อไป3. ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล1. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ1.1) ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์โดยแจกแจงความถี่และค่าร้อยละ1.2) วิเคราะห์เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เฟสบุ๊คของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่แต่ละด้านและโดยรวมเป็นความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และแปลผล1.3) ผู้วิจัยนำมารวบรวมจัดเรียงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ วิเคราะห์เนื้อหา เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัยตามขอบเขตที่กำหนดไว้
4. ผลการวิจัย
การแปล กรุณารอสักครู่..
