2.5.2 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการรับรู้ส่วนบุคคลกับพฤติกรรมป้องกันการ การแปล - 2.5.2 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการรับรู้ส่วนบุคคลกับพฤติกรรมป้องกันการ อังกฤษ วิธีการพูด

2.5.2 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการร


2.5.2 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการรับรู้ส่วนบุคคลกับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีของพนักงานบริการหญิง พื้นที่เสี่ยงแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานคร
1.การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวี
การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวีมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีของพนักงานบริการหญิงพื้นที่เสี่ยงแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (p-value = 0.001) โดยผู้ที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวีในระดับดี จะมีพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระดับดี เนื่องจากบุคคลแต่ละคนมีความคิดเรื่องการรับรู้ถึงโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่แตกต่างกัน หากบางคนรับรู้ว่าตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคน้อยจะทำให้ความสนใจในการปฏิบัติพฤติกรรมป้องกันโรคน้อย สำหรับคนที่รับรู้ว่าตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคสูงก็มักจะมีพฤติกรรมการป้องกันโรคและคอยระมัดระวังติดตามความผิดปกติของร่างกายที่อาจเกิดขึ้นตลอดเวลา
2.การรับรู้ความรุนแรงของการติดเชื้อเอชไอวี
การรับรู้ความรุนแรงของการติดเชื้อเอชไอวี ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีของพนักงานบริการหญิงพื้นที่เสี่ยงแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (p-value = 0.210 ) ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย โดยบุคคลแต่ละบุคคลจะรับรู้ถึงความรุนแรงของโรคแตกต่างกัน ซึ่งบุคคลนั้นๆจะเป็นผู้ประเมินความรุนแรงของโรคด้วยความรู้สึกของตนเองมากกว่าความรุนแรงที่เกิดขึ้นจริงเมื่อป่วยเป็นโรคนั้นๆ พฤติกรรมการป้องกันโรคอาจยังไม่แสดงออกจนกว่าบุคคลนั้นจะมีความเชื่อว่าโรคที่จะแสดงพฤติกรรมการป้องกันนั้นเป็นอันตรายจนสามารถทำลายร่างกายหรืออาจมีผลต่อสมรรถภาพในการทำงานของร่างกายหรือมีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน ครอบครัวและสังคมของตนซึ่งจะช่วยให้บุคคลตัดสินใจในการมีพฤติกรรมการป้องกันโรคได้

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
2.5.2 the relationship between personal recognition factor with behaviors against HIV infection of female staff, one of the risk area, Bangkok.1. to recognize the risk of HIV infection. การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวีมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีของพนักงานบริการหญิงพื้นที่เสี่ยงแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (p-value = 0.001) โดยผู้ที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวีในระดับดี จะมีพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระดับดี เนื่องจากบุคคลแต่ละคนมีความคิดเรื่องการรับรู้ถึงโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่แตกต่างกัน หากบางคนรับรู้ว่าตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคน้อยจะทำให้ความสนใจในการปฏิบัติพฤติกรรมป้องกันโรคน้อย สำหรับคนที่รับรู้ว่าตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคสูงก็มักจะมีพฤติกรรมการป้องกันโรคและคอยระมัดระวังติดตามความผิดปกติของร่างกายที่อาจเกิดขึ้นตลอดเวลา 2. to recognize the severity of the HIV infection. การรับรู้ความรุนแรงของการติดเชื้อเอชไอวี ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีของพนักงานบริการหญิงพื้นที่เสี่ยงแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (p-value = 0.210 ) ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย โดยบุคคลแต่ละบุคคลจะรับรู้ถึงความรุนแรงของโรคแตกต่างกัน ซึ่งบุคคลนั้นๆจะเป็นผู้ประเมินความรุนแรงของโรคด้วยความรู้สึกของตนเองมากกว่าความรุนแรงที่เกิดขึ้นจริงเมื่อป่วยเป็นโรคนั้นๆ พฤติกรรมการป้องกันโรคอาจยังไม่แสดงออกจนกว่าบุคคลนั้นจะมีความเชื่อว่าโรคที่จะแสดงพฤติกรรมการป้องกันนั้นเป็นอันตรายจนสามารถทำลายร่างกายหรืออาจมีผลต่อสมรรถภาพในการทำงานของร่างกายหรือมีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน ครอบครัวและสังคมของตนซึ่งจะช่วยให้บุคคลตัดสินใจในการมีพฤติกรรมการป้องกันโรคได้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

2.5.2 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการรับรู้ส่วนบุคคลกับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีของพนักงานบริการหญิง พื้นที่เสี่ยงแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานคร
1.การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวี
การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวีมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีของพนักงานบริการหญิงพื้นที่เสี่ยงแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (p-value = 0.001) โดยผู้ที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวีในระดับดี จะมีพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระดับดี เนื่องจากบุคคลแต่ละคนมีความคิดเรื่องการรับรู้ถึงโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่แตกต่างกัน หากบางคนรับรู้ว่าตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคน้อยจะทำให้ความสนใจในการปฏิบัติพฤติกรรมป้องกันโรคน้อย สำหรับคนที่รับรู้ว่าตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคสูงก็มักจะมีพฤติกรรมการป้องกันโรคและคอยระมัดระวังติดตามความผิดปกติของร่างกายที่อาจเกิดขึ้นตลอดเวลา
2.การรับรู้ความรุนแรงของการติดเชื้อเอชไอวี
การรับรู้ความรุนแรงของการติดเชื้อเอชไอวี ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีของพนักงานบริการหญิงพื้นที่เสี่ยงแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (p-value = 0.210 ) ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย โดยบุคคลแต่ละบุคคลจะรับรู้ถึงความรุนแรงของโรคแตกต่างกัน ซึ่งบุคคลนั้นๆจะเป็นผู้ประเมินความรุนแรงของโรคด้วยความรู้สึกของตนเองมากกว่าความรุนแรงที่เกิดขึ้นจริงเมื่อป่วยเป็นโรคนั้นๆ พฤติกรรมการป้องกันโรคอาจยังไม่แสดงออกจนกว่าบุคคลนั้นจะมีความเชื่อว่าโรคที่จะแสดงพฤติกรรมการป้องกันนั้นเป็นอันตรายจนสามารถทำลายร่างกายหรืออาจมีผลต่อสมรรถภาพในการทำงานของร่างกายหรือมีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน ครอบครัวและสังคมของตนซึ่งจะช่วยให้บุคคลตัดสินใจในการมีพฤติกรรมการป้องกันโรคได้

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
2.5.2 relationships between perceived personal behavior and prevent HIV infection of female employees service risk area of one. Bangkok.1. Perceived risk of HIV infection.Perceived risk of HIV infection associated with behaviors to prevent HIV infection of female service risk area of one. Metropolitan statistical significance levels 0.05 (p-value = 0.001) by the perceived risk of HIV infection at a good level. A protective behaviors HIV infection levels. Because each individual has the idea of recognition of the disease, the risk is different. If some people perceive that their risk disease less will make interest in practice behavior in disease prevention. For those who perceived their risk of disease is often a high preventive behavior and keep careful track of disorders of the body that may occur at any time.2. Perceived severity of HIV infection.Perceived severity of HIV infection. Was not correlated with the prevention of HIV transmission risk area of female service one of the metropolitan statistical significance levels 0.05 (p-value. = 0.210), which does not conform to the hypothesis. By an individual to realize the severity of the disease varies. The other individual assessor is the severity of the disease with a sense of their own rather than actual ความรุนแรงที่เกิด when sick cuisine. Preventive behavior may not act until that person will have the belief that the disease to show behavior that is harmful to the protection can destroy the body or may affect performance in the work of the body or affect daily life. The family and their society, which will help people decide to have preventive behavior.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: