การพัฒนาตลาดการเงินวัตถุประสงค์ของการพัฒนาตลาดการเงินตลาดการเงินเป็นอง การแปล - การพัฒนาตลาดการเงินวัตถุประสงค์ของการพัฒนาตลาดการเงินตลาดการเงินเป็นอง อังกฤษ วิธีการพูด

การพัฒนาตลาดการเงินวัตถุประสงค์ของก

การพัฒนาตลาดการเงิน

วัตถุประสงค์ของการพัฒนาตลาดการเงิน

ตลาดการเงินเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของระบบเศรษฐกิจ โดยเป็นกลไกในการขับเคลื่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้สามารถดำเนินการไปได้อย่างราบรื่น เป็นแหล่งที่ผู้มีเงินเหลือและผู้ที่ต้องการเงินมาพบและตกลงกู้ยืม หรือซื้อขายหลักทรัพย์หรือตราสารรูปแบบต่างๆ ระหว่างกัน ดังนั้น การพัฒนาตลาดการเงินจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ตลาดการเงินสามารถทำหน้าที่เป็นตัวกลางทางการเงินที่มีประสิทธิภาพ ตลาดการเงินที่สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพจะต้องมีความลึกและความกว้าง กล่าวคือ มีผู้ออกตราสารที่หลากหลาย ทำให้มีสินค้าให้เลือกจำนวนมากและมีความเสี่ยงในด้านเครดิตที่แตกต่างกัน ขณะเดียวกันก็มีนักลงทุน (demand side) จำนวนมากและหลากหลายประเภทที่จะทำให้มีความต้องการผลตอบแทนและความเสี่ยงในลักษณะที่แตกต่างกัน ผู้ออกตราสารและนักลงทุนหลากหลายประเภท ทำให้มีมุมมองต่อตลาดหลายทิศทาง จึงทำให้มีการซื้อขายเปลี่ยนมือของสินทรัพย์ทางการเงินจำนวนมาก ตลาดจึงมีความคล่องตัว และสามารถรองรับการทำธุรกรรมปริมาณมากได้โดยไม่กระทบกับราคา ลักษณะตลาดการเงินเช่นว่านี้ถือว่ามีสภาพคล่องสูง เพราะตราสารสามารถซื้อขายเปลี่ยนมือได้โดยเร็วในราคาที่สมเหตุสมผล นอกจากนี้ การมีระบบการชำระราคาและส่งมอบที่มีประสิทธิภาพเป็นปัจจัยสนับสนุนที่สำคัญในการทำให้ต้นทุนในการทำธุรกรรมต่ำ

นอกจากนี้ ตลาดการเงินที่มีสภาพคล่องสูงจะช่วยให้ ธปท. สามารถใช้ตลาดการเงิน
เป็นช่องทางในการดำเนินนโยบายการเงิน และส่งผ่านนโยบายดังกล่าวไปยังระบบเศรษฐกิจโดยรวม เพื่อดูแลให้อัตราดอกเบี้ย และอัตราเงินเฟ้อเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ ด้วยเหตุนี้ ธปท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงได้ร่วมกันพัฒนาตลาดการเงินเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กล่าวข้างต้น

องค์ประกอบของตลาดการเงิน

ตลาดการเงินสามารถแบ่งตามวัตถุประสงค์และรูปแบบการทำธุรกรรมได้หลายส่วน โดยแต่ละส่วนมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด ทั้งในด้านอัตราผลตอบแทน ผู้เล่น ปริมาณธุรกรรม และระดับการพัฒนา

1. ตลาดเงินตราต่างประเทศ คือตลาดสำหรับการซื้อขายแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยทั่วไปอยู่ในลักษณะ Over-the-Counter (OTC) ซึ่งผู้ดำเนินการจะเป็นธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในไทยและได้รับอนุญาตจาก ธปท. ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศกับลูกค้าเพื่ออำนวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ธนาคารพาณิชย์ทั้งไทยและต่างประเทศเป็นผู้เล่นที่สำคัญในตลาดนี้ธุรกรรมแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศในไทยอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน พ.ศ. 2485 กฎกระทรวง ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2497) รวมถึงประกาศกระทรวงการคลัง ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน และหนังสือเวียนเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินที่เกี่ยวข้องโดยทั่วไปประเภทของธุรกรรมเงินตราต่างประเทศประกอบด้วยธุรกรรมทันที ธุรกรรมล่วงหน้า ธุรกรรมสวอปเงินตราต่างประเทศ และธุรกรรมอนุพันธ์เงินตราต่างประเทศ เช่น FX Options และ Cross Currency Swaps เครื่องมือการเงินของตลาดเงินตราต่างประเทศ เช่น FX Swap มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเครื่องมือการเงินในตลาดเงิน เช่น Interbank และ Repo เพราะต่างก็เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการกู้ยืมระยะสั้นตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม 2540 เป็นต้นมา ประเทศไทยได้เปลี่ยนมาใช้ระบบอัตรา แลกเปลี่ยนแบบลอยตัว (Managed Float) ซึ่งค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินตราสกุลต่างๆ กำหนดโดยกลไกตลาดตามอุปสงค์และอุปทานในตลาดเงินตราต่างประเทศ ทั้งในและต่างประเทศ และสามารถเปลี่ยนแปลงขึ้นลงได้ตามปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

2. ตลาดเงิน เป็นตลาดสำหรับการกู้ยืมและการลงทุนระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี เพื่อบริหาร
สภาพคล่องในช่วงสั้นๆ ธุรกรรมในตลาดเงินส่วนใหญ่ ได้แก่ ธุรกรรมการกู้ยืมแบบไม่มีหลักประกัน ระหว่างธนาคาร การซื้อ-ขายตราสารหนี้ระยะสั้น เช่น ตั๋วเงินคลัง พันธบัตร ธปท. ตั๋วสัญญาใช้เงิน และตั๋วแลกเงิน และการทำธุรกรรมซื้อคืน ซึ่งแบ่งเป็นธุรกรรมที่ ธปท. ทำกับสถาบันการเงินที่เป็น Primary Dealers เรียกว่าธุรกรรม Bilateral Repo และธุรกรรมที่ภาคเอกชนทำระหว่างกันเอง เรียกว่าธุรกรรมซื้อคืนภาคเอกชน หรือ Private Repo เป็นต้น โดยในปี 2547 ธปท. ได้ผลักดันการสร้างเส้นอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงการกู้ยืมระหว่างธนาคารระยะสั้น หรือ BIBOR (Bangkok Interbank Offered Rates) สำหรับใช้เป็นอัตราอ้างอิงในการทำธุรกรรมการกู้ยืมเงินในตลาดเงิน รวมทั้งเป็นอัตราอ้างอิงสำหรับตราสารที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวด้วย
นอกเหนือจากธนาคารพาณิชย์ ผู้เล่นในตลาดเงินอื่นๆ ได้แก่ สถาบันการเงินอื่นๆ บริษัทธุรกิจขนาดใหญ่ รัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่

3. ตลาดตราสารหนี้ คือตลาดสำหรับการระดมทุนและการออมในระยะที่ยาวกว่า 1 ปี โดยการออกตราสารหนี้
ผู้ออกตราสารหนี้และผู้ลงทุนจะมีความสัมพันธ์กันในฐานะลูกหนี้และเจ้าหนี้ โดยผู้ลงทุนจะได้รับผลตอบแทนในรูปดอกเบี้ยตามกำหนดเวลาและอัตราที่ชัดเจน และได้รับเงินต้นคืนเมื่อตราสารหนี้นั้นครบกำหนี้ผู้ออกตราสารหนี้ขายเพื่อระดมทุน ถือว่าเป็นการขายตราสารหนี้ในตลาดแรก ส่วนการซื้อตราสารหนี้ที่มีการออกขายเพื่อการลงทุนหรือการออม ทำได้โดยการซื้อจากผู้ออกโดยตรงในตลาดแรก หรือซื้อต่อจากนักลงทุนอื่นๆ ที่เรียกว่าเป็นการซื้อตราสารหนี้ในตลาดรองตราสารหนี้สามารถแบ่งตามลักษณะของผู้ออก ได้เป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ ตราสารหนี้ภาครัฐ และตราสารหนี้ภาคเอกชน โดยสามารถออกเป็นตราสารหนี้สกุลเงินท้องถิ่น หรือสกุลเงินต่างประเทศก็ได้ นอกจากนั้น ผู้ออกยังสามารถเลือกวิธีการจ่ายดอกเบี้ยได้หลากหลาย เช่น ตราสารหนี้อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ยลอยตัว โดยอ้างอิงกับดัชนี หรืออิงกับอัตราเงินเฟ้อเป็นต้น ทั้งนี้ มีปัจจัยที่ใช้ประกอบการพิจารณาลักษณะของตราสารหนี้ที่จะออกหลายประการ เช่น ภาวะอัตราดอกเบี้ย ภาวะเงินเฟ้อ ความต้องการของนักลงทุน วัตถุประสงค์ในการระดมทุน และ net cash flow ที่ผู้ออกคาดว่าจะได้รับในอนาคต เป็นต้น

ฐานของผู้เล่นในตลาดตราสารหนี้จะค่อนข้างหลากหลายกว่าผู้เล่นในตลาดเงิน นอกจากสถาบันการเงิน สถาบัน และองค์กรขนาดใหญ่แล้ว ยังรวมถึงนิติบุคคล และบุคคลธรรมดาที่เป็น
ผู้ออมทั่วไป (นักลงทุนรายย่อย) ด้วย รัฐบาลและ ธปท. ได้มีการออกพันธบัตรออมทรัพย์ (Savings bond) แยกจากตราสารหนี้ท
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Development of the financial markets.The purpose of the development of the financial markets.ตลาดการเงินเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของระบบเศรษฐกิจ โดยเป็นกลไกในการขับเคลื่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้สามารถดำเนินการไปได้อย่างราบรื่น เป็นแหล่งที่ผู้มีเงินเหลือและผู้ที่ต้องการเงินมาพบและตกลงกู้ยืม หรือซื้อขายหลักทรัพย์หรือตราสารรูปแบบต่างๆ ระหว่างกัน ดังนั้น การพัฒนาตลาดการเงินจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ตลาดการเงินสามารถทำหน้าที่เป็นตัวกลางทางการเงินที่มีประสิทธิภาพ ตลาดการเงินที่สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพจะต้องมีความลึกและความกว้าง กล่าวคือ มีผู้ออกตราสารที่หลากหลาย ทำให้มีสินค้าให้เลือกจำนวนมากและมีความเสี่ยงในด้านเครดิตที่แตกต่างกัน ขณะเดียวกันก็มีนักลงทุน (demand side) จำนวนมากและหลากหลายประเภทที่จะทำให้มีความต้องการผลตอบแทนและความเสี่ยงในลักษณะที่แตกต่างกัน ผู้ออกตราสารและนักลงทุนหลากหลายประเภท ทำให้มีมุมมองต่อตลาดหลายทิศทาง จึงทำให้มีการซื้อขายเปลี่ยนมือของสินทรัพย์ทางการเงินจำนวนมาก ตลาดจึงมีความคล่องตัว และสามารถรองรับการทำธุรกรรมปริมาณมากได้โดยไม่กระทบกับราคา ลักษณะตลาดการเงินเช่นว่านี้ถือว่ามีสภาพคล่องสูง เพราะตราสารสามารถซื้อขายเปลี่ยนมือได้โดยเร็วในราคาที่สมเหตุสมผล นอกจากนี้ การมีระบบการชำระราคาและส่งมอบที่มีประสิทธิภาพเป็นปัจจัยสนับสนุนที่สำคัญในการทำให้ต้นทุนในการทำธุรกรรมต่ำนอกจากนี้ ตลาดการเงินที่มีสภาพคล่องสูงจะช่วยให้ ธปท. สามารถใช้ตลาดการเงินเป็นช่องทางในการดำเนินนโยบายการเงิน และส่งผ่านนโยบายดังกล่าวไปยังระบบเศรษฐกิจโดยรวม เพื่อดูแลให้อัตราดอกเบี้ย และอัตราเงินเฟ้อเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ ด้วยเหตุนี้ ธปท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงได้ร่วมกันพัฒนาตลาดการเงินเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กล่าวข้างต้นองค์ประกอบของตลาดการเงินตลาดการเงินสามารถแบ่งตามวัตถุประสงค์และรูปแบบการทำธุรกรรมได้หลายส่วน โดยแต่ละส่วนมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด ทั้งในด้านอัตราผลตอบแทน ผู้เล่น ปริมาณธุรกรรม และระดับการพัฒนา1. ตลาดเงินตราต่างประเทศ คือตลาดสำหรับการซื้อขายแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยทั่วไปอยู่ในลักษณะ Over-the-Counter (OTC) ซึ่งผู้ดำเนินการจะเป็นธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในไทยและได้รับอนุญาตจาก ธปท. ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศกับลูกค้าเพื่ออำนวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ธนาคารพาณิชย์ทั้งไทยและต่างประเทศเป็นผู้เล่นที่สำคัญในตลาดนี้ธุรกรรมแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศในไทยอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน พ.ศ. 2485 กฎกระทรวง ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2497) รวมถึงประกาศกระทรวงการคลัง ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน และหนังสือเวียนเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินที่เกี่ยวข้องโดยทั่วไปประเภทของธุรกรรมเงินตราต่างประเทศประกอบด้วยธุรกรรมทันที ธุรกรรมล่วงหน้า ธุรกรรมสวอปเงินตราต่างประเทศ และธุรกรรมอนุพันธ์เงินตราต่างประเทศ เช่น FX Options และ Cross Currency Swaps เครื่องมือการเงินของตลาดเงินตราต่างประเทศ เช่น FX Swap มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเครื่องมือการเงินในตลาดเงิน เช่น Interbank และ Repo เพราะต่างก็เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการกู้ยืมระยะสั้นตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม 2540 เป็นต้นมา ประเทศไทยได้เปลี่ยนมาใช้ระบบอัตรา แลกเปลี่ยนแบบลอยตัว (Managed Float) ซึ่งค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินตราสกุลต่างๆ กำหนดโดยกลไกตลาดตามอุปสงค์และอุปทานในตลาดเงินตราต่างประเทศ ทั้งในและต่างประเทศ และสามารถเปลี่ยนแปลงขึ้นลงได้ตามปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ2. ตลาดเงิน เป็นตลาดสำหรับการกู้ยืมและการลงทุนระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี เพื่อบริหารสภาพคล่องในช่วงสั้นๆ ธุรกรรมในตลาดเงินส่วนใหญ่ ได้แก่ ธุรกรรมการกู้ยืมแบบไม่มีหลักประกัน ระหว่างธนาคาร การซื้อ-ขายตราสารหนี้ระยะสั้น เช่น ตั๋วเงินคลัง พันธบัตร ธปท. ตั๋วสัญญาใช้เงิน และตั๋วแลกเงิน และการทำธุรกรรมซื้อคืน ซึ่งแบ่งเป็นธุรกรรมที่ ธปท. ทำกับสถาบันการเงินที่เป็น Primary Dealers เรียกว่าธุรกรรม Bilateral Repo และธุรกรรมที่ภาคเอกชนทำระหว่างกันเอง เรียกว่าธุรกรรมซื้อคืนภาคเอกชน หรือ Private Repo เป็นต้น โดยในปี 2547 ธปท. ได้ผลักดันการสร้างเส้นอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงการกู้ยืมระหว่างธนาคารระยะสั้น หรือ BIBOR (Bangkok Interbank Offered Rates) สำหรับใช้เป็นอัตราอ้างอิงในการทำธุรกรรมการกู้ยืมเงินในตลาดเงิน รวมทั้งเป็นอัตราอ้างอิงสำหรับตราสารที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวด้วย นอกเหนือจากธนาคารพาณิชย์ ผู้เล่นในตลาดเงินอื่นๆ ได้แก่ สถาบันการเงินอื่นๆ บริษัทธุรกิจขนาดใหญ่ รัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่

3. ตลาดตราสารหนี้ คือตลาดสำหรับการระดมทุนและการออมในระยะที่ยาวกว่า 1 ปี โดยการออกตราสารหนี้
ผู้ออกตราสารหนี้และผู้ลงทุนจะมีความสัมพันธ์กันในฐานะลูกหนี้และเจ้าหนี้ โดยผู้ลงทุนจะได้รับผลตอบแทนในรูปดอกเบี้ยตามกำหนดเวลาและอัตราที่ชัดเจน และได้รับเงินต้นคืนเมื่อตราสารหนี้นั้นครบกำหนี้ผู้ออกตราสารหนี้ขายเพื่อระดมทุน ถือว่าเป็นการขายตราสารหนี้ในตลาดแรก ส่วนการซื้อตราสารหนี้ที่มีการออกขายเพื่อการลงทุนหรือการออม ทำได้โดยการซื้อจากผู้ออกโดยตรงในตลาดแรก หรือซื้อต่อจากนักลงทุนอื่นๆ ที่เรียกว่าเป็นการซื้อตราสารหนี้ในตลาดรองตราสารหนี้สามารถแบ่งตามลักษณะของผู้ออก ได้เป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ ตราสารหนี้ภาครัฐ และตราสารหนี้ภาคเอกชน โดยสามารถออกเป็นตราสารหนี้สกุลเงินท้องถิ่น หรือสกุลเงินต่างประเทศก็ได้ นอกจากนั้น ผู้ออกยังสามารถเลือกวิธีการจ่ายดอกเบี้ยได้หลากหลาย เช่น ตราสารหนี้อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ยลอยตัว โดยอ้างอิงกับดัชนี หรืออิงกับอัตราเงินเฟ้อเป็นต้น ทั้งนี้ มีปัจจัยที่ใช้ประกอบการพิจารณาลักษณะของตราสารหนี้ที่จะออกหลายประการ เช่น ภาวะอัตราดอกเบี้ย ภาวะเงินเฟ้อ ความต้องการของนักลงทุน วัตถุประสงค์ในการระดมทุน และ net cash flow ที่ผู้ออกคาดว่าจะได้รับในอนาคต เป็นต้น

ฐานของผู้เล่นในตลาดตราสารหนี้จะค่อนข้างหลากหลายกว่าผู้เล่นในตลาดเงิน นอกจากสถาบันการเงิน สถาบัน และองค์กรขนาดใหญ่แล้ว ยังรวมถึงนิติบุคคล และบุคคลธรรมดาที่เป็น
ผู้ออมทั่วไป (นักลงทุนรายย่อย) ด้วย รัฐบาลและ ธปท. ได้มีการออกพันธบัตรออมทรัพย์ (Savings bond) แยกจากตราสารหนี้ท
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Financial market development objectives of financial market development.



.The financial market is an important element of the economic system. The mechanism driving the economic activities to proceed smoothly. Is the source that the money left and those in need of money to meet and agreed to loan.Between each other. Therefore, the development of the financial market, therefore, aims to provide financial markets can act as a financial centre with efficiency.That is, there are a variety of issuers To choose a product to a lot and have different credit risk. Meanwhile has investors (demand side).Issuers and investors of various types. To view the market several directions. The trading of financial assets, the transfer market is agility.The financial markets like this are considered to have a high liquidity. Because the instrument can be traded hands quickly at a reasonable price.
the financial markets with high liquidity will help banks can use financial market
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: