บทคัดย่อ นัยนา วิชพันธุ์ 2558: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการทำงาน การแปล - บทคัดย่อ นัยนา วิชพันธุ์ 2558: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการทำงาน อังกฤษ วิธีการพูด

บทคัดย่อ นัยนา วิชพันธุ์ 2558: ปัจจ

บทคัดย่อ

นัยนา วิชพันธุ์ 2558: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานการไฟฟ้าส่วน ภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้) จังหวัดเพชรบุรี
บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการ) โครงการจัดตั้งภาควิชาการจัดการและการบัญชี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
อาจารย์ที่ปรึกษาพิเศษ : อาจารย์อังคณา ธนานุภาพพันธุ์
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยการสร้างแรงจูงใจและแรงจูงใจในการทำงานของ พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้) จังหวัดเพชรบุรี
2. เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยการสร้างแรงจูงใจ ที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการ ทำงานของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้) จังหวัดเพชรบุรี
โดยประชากรในการวิจัยครั้งนี้ อ้างอิงจากข้อมูลสถิติจำนวนพนักงานในการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้) จังหวัดเพชรบุรี มีจำนวนทั้งหมด 322 คน และทำการกำหนดสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างจากสูตร Taro Yamane (Yamane, 1973) ได้จำนวน 179 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ SPSS ค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test One-way ANOVA และ Simple Regression โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัยพบว่า พนักงานส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 51 ปีขึ้นไป ระดับการศึกษา ปริญญาตรี มีรายได้ต่อเดือน 40,001 บาทขึ้นไป และมีสถานภาพสมรส/อยู่ด้วยกัน มีปัจจัยอนามัยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความมั่นคงในการทำงานมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านความสัมพันธ์ต่อเพื่อนร่วมงาน ด้านนโยบายองค์กร ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ และด้านการปกครองของผู้บังคับบัญชามีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ตามลำดับ ส่วนปัจจัยจูงใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความรับผิดชอบในหน้าที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ และด้านความก้าวหน้าในการทำงานมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ตามลำดับ และมีระดับแรงจูงใจในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก

ผลการทดสอบสมมติฐาน การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับแรงจูงใจในการทำงานโดยรวม พบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษาและสถานภาพการสมรสที่แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการทำงานที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการทำงานที่แตกต่างกัน การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยอนามัยกับแรงจูงใจในการทำงานโดยรวม พบว่า ด้านนโยบายองค์กร ด้านการปกครองของผู้บังคับบัญชา ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ด้านความสัมพันธ์ต่อเพื่อนร่วมงาน ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ และด้านความมั่นคงในการทำงานมีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการทำงาน และการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจูงใจกับแรงจูงใจในการทำงานโดยรวม พบว่า ด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านความรับผิดชอบในหน้าที่ ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติและด้านความก้าวหน้าในการทำงานมีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการทำงาน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ นัยนา วิชพันธุ์ 2558: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานการไฟฟ้าส่วน ภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้) จังหวัดเพชรบุรี บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการ) โครงการจัดตั้งภาควิชาการจัดการและการบัญชี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ อาจารย์ที่ปรึกษาพิเศษ : อาจารย์อังคณา ธนานุภาพพันธุ์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยการสร้างแรงจูงใจและแรงจูงใจในการทำงานของ พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้) จังหวัดเพชรบุรี 2. to study the personal factors and the factors creating the incentives that influence the incentives for work of the employee, the provincial Electricity Authority District 1 (South) of phetchaburi province. โดยประชากรในการวิจัยครั้งนี้ อ้างอิงจากข้อมูลสถิติจำนวนพนักงานในการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้) จังหวัดเพชรบุรี มีจำนวนทั้งหมด 322 คน และทำการกำหนดสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างจากสูตร Taro Yamane (Yamane, 1973) ได้จำนวน 179 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ SPSS ค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test One-way ANOVA และ Simple Regression โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า พนักงานส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 51 ปีขึ้นไป ระดับการศึกษา ปริญญาตรี มีรายได้ต่อเดือน 40,001 บาทขึ้นไป และมีสถานภาพสมรส/อยู่ด้วยกัน มีปัจจัยอนามัยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความมั่นคงในการทำงานมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านความสัมพันธ์ต่อเพื่อนร่วมงาน ด้านนโยบายองค์กร ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ และด้านการปกครองของผู้บังคับบัญชามีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ตามลำดับ ส่วนปัจจัยจูงใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความรับผิดชอบในหน้าที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ และด้านความก้าวหน้าในการทำงานมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ตามลำดับ และมีระดับแรงจูงใจในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับแรงจูงใจในการทำงานโดยรวม พบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษาและสถานภาพการสมรสที่แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการทำงานที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการทำงานที่แตกต่างกัน การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยอนามัยกับแรงจูงใจในการทำงานโดยรวม พบว่า ด้านนโยบายองค์กร ด้านการปกครองของผู้บังคับบัญชา ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ด้านความสัมพันธ์ต่อเพื่อนร่วมงาน ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ และด้านความมั่นคงในการทำงานมีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการทำงาน และการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจูงใจกับแรงจูงใจในการทำงานโดยรวม พบว่า ด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านความรับผิดชอบในหน้าที่ ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติและด้านความก้าวหน้าในการทำงานมีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการทำงาน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
มู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอทีมู ทีโอที
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: