1) กฎหมายสิบสองโต๊ะ (The Twelve Table) (451 B.C.)  เนื่องจากอาณาจักรโร การแปล - 1) กฎหมายสิบสองโต๊ะ (The Twelve Table) (451 B.C.)  เนื่องจากอาณาจักรโร อังกฤษ วิธีการพูด

1) กฎหมายสิบสองโต๊ะ (The Twelve Tab

1) กฎหมายสิบสองโต๊ะ (The Twelve Table) (451 B.C.)
เนื่องจากอาณาจักรโรมันยุคสาธารณรัฐ ในช่วงทศวรรษแรกยังไม่มีกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งก็ทำให้ชนชั้นอภิชนต่างก็อาศัยสาเหตุนี้ในการผูกขาดตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการใช้กฎหมาย ทั้ง ผู้ตัดสินคดี และกลุ่มพระสังฆราช และการตีความกฎหมายที่จะเป็นหน้าที่ของพระแต่เพียงผู้เดียว และจะไม่มีการแบ่งแยกระหว่างกฎหมายแพ่ง-อาญา และกฎหมายรัฐธรรมนูญ ทำให้ในราว 451 B.C. “คณะกรรมการบริหารกรุงโรม 10 คน” (The decemvirs) ได้มีการรวบรวมกฎหมายต่าง ๆ มาจัดให้อยู่ในรูปแบบที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ เพื่อเป็นการลดข้อโต้แย้งต่าง ๆ ของพวกสามัญชน ที่มักจะเป็นผู้เสียเปรียบในการใช้กฎหมายลง โดยมิได้มีลักษณะเป็นประมวลกฎหมายตามความหมายอย่างในยุคปัจจุบัน แต่เป็นการนำเอาหลักเกณฑ์ทางกฎหมายที่สำคัญ ๆ มาจัดรวบรวมไว้ โดยการเขียนกฎหมายในลักษณะที่เรียบง่าย จนมีการนำมาไปเป็นหลักพื้นฐานของกฎหมายโรมันในอีกหลายศตวรรษต่อมา ซึ่ง Livy และ Cicero นักกฎหมายผู้มีชื่อเสียงได้กล่าวว่า กฎหมายสิบสองโต๊ะถือเป็นต้นกำเนิดที่สำคัญของทั้งกฎหมายมหาชน และเอกชน เพราะเป็นกฎหมายที่มีพื้นฐานการเขียนกฎหมายมาจากกรีก แต่หัวข้อต่าง ๆ จะมีลักษณะเฉพาะที่ผสมผสานกฎหมายต่าง ๆ ของโรมัน ทั้งหลักทั่วไป และรายละเอียดปลีกย่อยของกฎหมายเอกชน และมหาชนซึ่งมีรายละเอียดในแต่ละโต๊ะดังนี้ คือ
- โต๊ะที่ 1: เกี่ยวกับหมายเรียกตัวให้ไปศาล (Vocatio in jus)
- โต๊ะที่ 2: กระบวนการพิจารณาคดี รวมทั้งการเรียกพยาน
- โต๊ะที่ 3: ลูกหนี้ และเจ้าหนี้ (ที่อนุญาตให้เจ้าหนี้สามารถกักขัง หรือฆ่าลูกหนี้ได้)
- โต๊ะที่ 4: สิทธิของหัวหน้าครอบครัว (การขายคนในครอบครัวสามครั้งติดต่อกัน จะถือเป็นการปลดปล่อยบุคคลนั้นจากอำนาจการดูแลของหัวหน้าครอบครัว )
- โต๊ะที่ 5: การสืบทอดมรดก และการดูแล (เป็นการแสดงเจตนาของหัวหน้าครอบครัวเกี่ยวกับทรัพย์สิน และผู้ดูแล เกี่ยวกับการตกทอดทรัพย์สินไปยังทายาท การที่ผู้ใดเสียชีวิตโดยไม่ทำพินัยกรรมไว้ทรัพย์มรดกทั้งหมดจะถูกกำหนดให้ตกทอดแก่ทายาท ซึ่งเป็นสมาชิกของตระกูล (Gentiles) หรือผู้สืบสายเลือดทางบิดา (Agnati))
- โต๊ะที่ 6: ความเป็นเจ้าของ และการครอบครอง (เป็นบทบัญญัติที่เกี่ยวกับการโอนทรัพย์สินการซื้อขาย (mancipatio); ระยะเวลาของการได้มาโดยการครอบครองปรปักษ์ (usucapio))
- โต๊ะที่ 7: อสังหาริมทรัพย์ (Real Property)
- โต๊ะที่ 8: ละเมิด (Delicta) (อนุญาตให้สามารถทำการแก้แค้นได้ในกรณีที่มีผู้มาทำร้ายตน ยกเว้นจะมีการเสนอชดใช้ค่าเสียหายให้, วิธีการเยียวยาในกรณีความเสียหายแบบอื่น ๆ มีความแตกต่างจากความผิดฐานลักทรัพย์)
- โต๊ะที่ 9: กฎหมายมหาชน
- โต๊ะที่ 10: กฎหมายศาสนา (ส่วนมากเป็นเรื่องเกี่ยวกับพิธีศพ)
- โต๊ะที่ 11-12: ส่วนเพิ่มเติมต่าง ๆ เช่น การห้ามสมรสกันระหว่างชนชั้นอภิชน กับสามัญชน หรือ การฟ้องคดีนายทาสในกรณีที่ทาสไปกระทำละเมิด (Noxalis actio)
โดยกฎหมายสิบสองโต๊ะนี้นั้นมีจุดแข็งที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การให้ความสำคัญแม้กระทั่งกับรายละเอียดทางปฏิบัติที่เล็กน้อย เช่น การ อนุญาตให้ประชาชนผู้ยากก็จนสามารถทำการค้าขายได้อย่างสงบ และเสรี ซึ่งนอกจากจุดแข็งแล้ว กฎหมายสิบสองโต๊ะก็ถือว่ามีจุดอ่อนด้วยโดยจุดอ่อนที่สำคัญก็คือ การเขียนนั้นมีการใช้วิธีการเขียนที่ค่อนข้างห้วน หรือสั้นมากจนเกินไป จนทำให้ไม่สามารถทำความเข้าใจได้ในยุคปัจจุบัน
2) Edictum Perpetum of Salvius Julianus (130 A.D.)
เป็นการแก้ไขปรับปรุง และเรียบเรียง คำประกาศนโยบาย (Edicts) ของ Praetor และ Curule Aediles ที่ดำเนินการโดย Salvius Julianus ซึ่งได้รับมอบหมายจากจักรพรรดิ Hadrian
3) Codex Gregorianus (300 A.D.)
ในช่วงตอนปลายของศตวรรษที่ 3 จักรพรรดิ Diocletianได้สั่งให้ Gregorianus ทำการรวบรวมกฎหมายของจักรวรรดิต่อจากสมัยของจักรพรรดิ Hadrian ประกอบด้วยหนังสือ 16 เล่ม แบ่งเป็นหัวข้อต่างหลายหัวข้อ ซึ่งเป็น Rescripta ของจักรพรรดิ Septimus Serverus และผู้สืบทอด
4) Codex Hermogenianus (365 A.D.)
เป็นส่วนเสริมของ Codex Gregorianus ประกอบด้วยกฎหมายที่ออกโดยจักรพรรดิ Diocletian และ Maximian
5) Codex Theodossianus (435 A.D.)
เป็นกฎหมายที่มาจากการที่จักรพรรดิ Theodosius ตั้งจัดตั้งคณะกรรมการจำนวน 16 คน เพื่อทำการจัดเตรีมการรวมรวมกฎหมายที่ออกโดยจักรพรรดิตั้งแต่สมัยของจักรพรรดิ Constatine ซึ่งได้ประกาศใช้ในปี 438 A.D. ณ กรุงคอนสแตนติโนเบิล และในอาณาจักรโรมันฝั่งตะวันตก โดยจักรพรรดิ Valentinian III มีจำนวนทั้งสิ้น 16 เล่ม แต่ละเล่มได้กำหนดเป็นหัวข้อย่อยเกี่ยวกับการเรียบเรียง และลำดับเหตุการณ์ต่าง ๆ ของกฎหมายที่ออกโดยจักรพรรดิ โดยห้าเล่มแรกเป็นกฎหมายเอกชน ส่วนที่เหลือเป็นกฎหมายมหาชน, กฎหมายอาญา, เทศบาล, กองทัพ และกฎหมายเกี่ยวกับคณะกรรมการศาสนาคริสต์
6) Edictum Theodorici (500 A.D.)
เป็นประมวลกฎหมายที่จัดทำให้หลังจากการอาณาจักโรมันฝั่งตะวันตกถูกยึดครองโดยพวกคนป่าเถื่อน (Barbarians) ได้แก่ พวก Frank และ Goth ซึ่งประกอบด้วยประมวลกฎหมาย 3 ฉบับ ได้แก่
- Leges Barborum: เป็นกฎหมายที่ใช้ในดินแดนที่พวกป่าเถือนครอบครองอยู่ ซึ่งทำการรวบรวมโดย Theodoric กษัตริย์แห่ง Goth (Ostrogoth) มีทั้งหมด154 หมวด เกี่ยวข้องกับทั้งกฎหมายมหาชน และกฎหมายเอกชน ซึ่งนำมาจากงานของนักกฎหมายต่าง ๆ (โดยเฉพาะงานของ Paulus)
- Codex Gregorianus:
- Codex Hermogenianus และ Theodossianus
7) Breviarium Alaricianum (The Breviary of Alaric) หรือ Lex Romana Visigothorum (506 A.D.)
เป็นกฎหมายที่ Alaric II กษัตริย์แห่งพวก Visigoth ในสเปน ได้ตั้งคณะกรรมการเพื่อดำเนินการจัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้กับพลเมืองชาวโรมันในปกครองของตน (มักจะเรียกว่ากฎหมาย “Roman Visigoth”) โดยกฎหมายนี้ได้ทำการคัดเลือกกฎหมายมาจาก Theodossian Code, งานรวบรวมคำอธิบายกฎหมาย (The Institutiones) ของ Gaius และงานเขียนของ Paul และ Papinian
8) Lex Romana Burgundionum (Law of the Burgundians) (517 A.D.)
เป็นกฎหมายที่ประกาศใช้โดยกษัตริย์ Gundobald หรือ โอรส คือ Sigismund เป็นประมวลกฎหมายที่ประกอบด้วย 47 หัวข้อ บนพื้นฐานของประมวลกฎหมาย The Breviary of Alaric
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Table 1) twelve (The Twelve Table) (451 B.C.). เนื่องจากอาณาจักรโรมันยุคสาธารณรัฐ ในช่วงทศวรรษแรกยังไม่มีกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งก็ทำให้ชนชั้นอภิชนต่างก็อาศัยสาเหตุนี้ในการผูกขาดตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการใช้กฎหมาย ทั้ง ผู้ตัดสินคดี และกลุ่มพระสังฆราช และการตีความกฎหมายที่จะเป็นหน้าที่ของพระแต่เพียงผู้เดียว และจะไม่มีการแบ่งแยกระหว่างกฎหมายแพ่ง-อาญา และกฎหมายรัฐธรรมนูญ ทำให้ในราว 451 B.C. “คณะกรรมการบริหารกรุงโรม 10 คน” (The decemvirs) ได้มีการรวบรวมกฎหมายต่าง ๆ มาจัดให้อยู่ในรูปแบบที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ เพื่อเป็นการลดข้อโต้แย้งต่าง ๆ ของพวกสามัญชน ที่มักจะเป็นผู้เสียเปรียบในการใช้กฎหมายลง โดยมิได้มีลักษณะเป็นประมวลกฎหมายตามความหมายอย่างในยุคปัจจุบัน แต่เป็นการนำเอาหลักเกณฑ์ทางกฎหมายที่สำคัญ ๆ มาจัดรวบรวมไว้ โดยการเขียนกฎหมายในลักษณะที่เรียบง่าย จนมีการนำมาไปเป็นหลักพื้นฐานของกฎหมายโรมันในอีกหลายศตวรรษต่อมา ซึ่ง Livy และ Cicero นักกฎหมายผู้มีชื่อเสียงได้กล่าวว่า กฎหมายสิบสองโต๊ะถือเป็นต้นกำเนิดที่สำคัญของทั้งกฎหมายมหาชน และเอกชน เพราะเป็นกฎหมายที่มีพื้นฐานการเขียนกฎหมายมาจากกรีก แต่หัวข้อต่าง ๆ จะมีลักษณะเฉพาะที่ผสมผสานกฎหมายต่าง ๆ ของโรมัน ทั้งหลักทั่วไป และรายละเอียดปลีกย่อยของกฎหมายเอกชน และมหาชนซึ่งมีรายละเอียดในแต่ละโต๊ะดังนี้ คือ -Table 1: about the call to go to court (Vocatio in jus). -2: the process of the trial, including calling the witness. -3: accounts receivable and payable (allowing creditors, debtors can be detained or killed.) -Table 4: rights of the head of the family (the sale of the family three times consecutively are considered to be the liberation of people from the power of the head of the family). -5: the trace thotmondok and (as the intent of the Chief families about property and people care about the property passed to an heir. That one died without heirs the estate inheritance, all the passed unto heiress who is a member of the clan (the Gentiles), his father's political successor, or a pedigree (Agnati.)) -6: ownership and possession (as the provisions regarding the transfer of property to buy/sell (mancipatio); a period of possession is derived by the clash (usucapio)) -7: real estate (Real Property) -8: the breach (Delicta) (allowed to be made in the case of revenge has come to harm himself, with the exception of the proposed pay corrupt, how to care for other damages cases is different from the wrong base thief) -9: public law -10: the law of Islam (most of the time is about funeral service). -11-12: additions, such as prohibiting marriage between an aristocrat of classes or to prosecute Mr. slave to slave in the event of violation of the Act (actio Noxalis) โดยกฎหมายสิบสองโต๊ะนี้นั้นมีจุดแข็งที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การให้ความสำคัญแม้กระทั่งกับรายละเอียดทางปฏิบัติที่เล็กน้อย เช่น การ อนุญาตให้ประชาชนผู้ยากก็จนสามารถทำการค้าขายได้อย่างสงบ และเสรี ซึ่งนอกจากจุดแข็งแล้ว กฎหมายสิบสองโต๊ะก็ถือว่ามีจุดอ่อนด้วยโดยจุดอ่อนที่สำคัญก็คือ การเขียนนั้นมีการใช้วิธีการเขียนที่ค่อนข้างห้วน หรือสั้นมากจนเกินไป จนทำให้ไม่สามารถทำความเข้าใจได้ในยุคปัจจุบัน 2) Edictum Perpetum of Salvius Julianus (130 A.D.) เป็นการแก้ไขปรับปรุง และเรียบเรียง คำประกาศนโยบาย (Edicts) ของ Praetor และ Curule Aediles ที่ดำเนินการโดย Salvius Julianus ซึ่งได้รับมอบหมายจากจักรพรรดิ Hadrian 3) Codex Gregorianus (300 A.D.) ในช่วงตอนปลายของศตวรรษที่ 3 จักรพรรดิ Diocletianได้สั่งให้ Gregorianus ทำการรวบรวมกฎหมายของจักรวรรดิต่อจากสมัยของจักรพรรดิ Hadrian ประกอบด้วยหนังสือ 16 เล่ม แบ่งเป็นหัวข้อต่างหลายหัวข้อ ซึ่งเป็น Rescripta ของจักรพรรดิ Septimus Serverus และผู้สืบทอด 4) Codex Hermogenianus (365 A.D.) เป็นส่วนเสริมของ Codex Gregorianus ประกอบด้วยกฎหมายที่ออกโดยจักรพรรดิ Diocletian และ Maximian 5) Codex Theodossianus (435 A.D.) เป็นกฎหมายที่มาจากการที่จักรพรรดิ Theodosius ตั้งจัดตั้งคณะกรรมการจำนวน 16 คน เพื่อทำการจัดเตรีมการรวมรวมกฎหมายที่ออกโดยจักรพรรดิตั้งแต่สมัยของจักรพรรดิ Constatine ซึ่งได้ประกาศใช้ในปี 438 A.D. ณ กรุงคอนสแตนติโนเบิล และในอาณาจักรโรมันฝั่งตะวันตก โดยจักรพรรดิ Valentinian III มีจำนวนทั้งสิ้น 16 เล่ม แต่ละเล่มได้กำหนดเป็นหัวข้อย่อยเกี่ยวกับการเรียบเรียง และลำดับเหตุการณ์ต่าง ๆ ของกฎหมายที่ออกโดยจักรพรรดิ โดยห้าเล่มแรกเป็นกฎหมายเอกชน ส่วนที่เหลือเป็นกฎหมายมหาชน, กฎหมายอาญา, เทศบาล, กองทัพ และกฎหมายเกี่ยวกับคณะกรรมการศาสนาคริสต์ 6) Edictum Theodorici (500 A.D.)
เป็นประมวลกฎหมายที่จัดทำให้หลังจากการอาณาจักโรมันฝั่งตะวันตกถูกยึดครองโดยพวกคนป่าเถื่อน (Barbarians) ได้แก่ พวก Frank และ Goth ซึ่งประกอบด้วยประมวลกฎหมาย 3 ฉบับ ได้แก่
- Leges Barborum: เป็นกฎหมายที่ใช้ในดินแดนที่พวกป่าเถือนครอบครองอยู่ ซึ่งทำการรวบรวมโดย Theodoric กษัตริย์แห่ง Goth (Ostrogoth) มีทั้งหมด154 หมวด เกี่ยวข้องกับทั้งกฎหมายมหาชน และกฎหมายเอกชน ซึ่งนำมาจากงานของนักกฎหมายต่าง ๆ (โดยเฉพาะงานของ Paulus)
- Codex Gregorianus:
- Codex Hermogenianus และ Theodossianus
7) Breviarium Alaricianum (The Breviary of Alaric) หรือ Lex Romana Visigothorum (506 A.D.)
เป็นกฎหมายที่ Alaric II กษัตริย์แห่งพวก Visigoth ในสเปน ได้ตั้งคณะกรรมการเพื่อดำเนินการจัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้กับพลเมืองชาวโรมันในปกครองของตน (มักจะเรียกว่ากฎหมาย “Roman Visigoth”) โดยกฎหมายนี้ได้ทำการคัดเลือกกฎหมายมาจาก Theodossian Code, งานรวบรวมคำอธิบายกฎหมาย (The Institutiones) ของ Gaius และงานเขียนของ Paul และ Papinian
8) Lex Romana Burgundionum (Law of the Burgundians) (517 A.D.)
เป็นกฎหมายที่ประกาศใช้โดยกษัตริย์ Gundobald หรือ โอรส คือ Sigismund เป็นประมวลกฎหมายที่ประกอบด้วย 47 หัวข้อ บนพื้นฐานของประมวลกฎหมาย The Breviary of Alaric
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1) twelve tables (The Twelve Table) (451 B.C.)
.Since the Roman Republic era. In the first decade also no laws in writing. Which makes the privileged class are relying on this cause in monopoly position of government officials involved with the use of the law.The patriarch. And the interpretation of law to a function of the sole. And there will be no distinction between civil law and constitutional law - criminal, in about 451 B.C."The Rome 10 people" (The decemvirs) has to gather various laws, arranged in a pattern that is easy to understand. In order to reduce the arguments of various commoners who tend to be disadvantaged in applying the rules หมายลง.But is to take the important legal principles. The collected by writing the law in a simple manner. Until the coming into the basic principle of Roman law in later centuries, and which Livy Cicero.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: