A dog sheds, cheap but easy to build upwards, there are disadvantages to make into the sunlight so much in summer or rain water will easily into splash in the rainy season.A shelter dog ngaenklai spending increased slightly From a shelter dog, but you can look up the rain and sun protection better than splash. A construction price is much higher than in the North, two sun protection, but the first rain and splash well. If the build is very good because the air inside the greenhouses are the cool, breathable but if they build too low will cause the air inside the sweltering.A two-storey gable roof of this very popular build due to the current safe from Sun and rain splash. Inside the building is very well ventilated, but the price is higher than other forms of construction, but it is considered worthwhile, because pigs are located in comfort. Stress is not healthy. As a result, with good growth.Create a hole for the pigs to the stall. คอกหมูหลุมจะแตกต่างจากคอกหมูโดยทั่วไป คือ นอกจากมีผนังกั้นคอกแล้ว ยังขุดหลุมให้ลึกลงไปประมาณ 70 เซนติเมตร แล้วนำวัสดุที่ย่อยสลายได้ใส่ลงไปทดแทนดินที่ขุดออก ผนังกั้นคอกขึ้นอยู่กับเงินทุนที่ดำเนินการอาจจะใช้ไม้ไผ่ ไม้ระแนง ไม้ยูคาลิปตัส หรืออาจจะเป็นผนังอิฐบล็อกก็ได้ โดยเน้นใช้วัสดุที่หาได้ง่าย ราคาไม่แพงเกินไป หรือผนังอาจจะเป็นแบบไหนก็ได้ที่สามารถป้องกันไม่ให้สุกรออกจากคอกได้ มีความแข็งแรง และอายุการใช้งานนานพอสมควร ไม่ต้องซ่อมแซมบ่อยครั้งเกินไป การขุดหลุมขนาดของหลุมขึ้นอยู่กับจำนวนสุกรที่จะเลี้ยง โดยกำหนดให้สุกร 1 ตัวใช้พื้นที่เลี้ยงตั้งแต่เริ่มจนถึงขาย 1.2-1.5 ตารางเมตร การขุดหลุมจะขุดหลุมก่อนหรือหลังการสร้างโรงเรือนก็ได้ ขึ้นอยู่กับความสะดวกในการทำงานการเตรียมพื้นที่คอกหมูหลุมวัสดุที่ใช้ควรเป็นวัสดุที่สามารถหาได้ง่าย ราคาถูก มีอยู่ตามธรรมชาติทั่วไปหรือเศษวัสดุเหลือใช้ต่าง ๆ ก็สมาราถนำกลับมาใช้ได้อีก ช่วยทำให้ประหยัดต้นทุนได้ค่อนข้างมาก วัสดุที่ใช้มีดังนี้คือ1.) แกลบ ขี้เลื่อย หรือวัสดุทางการเกษตร ใบไม้แห้ง หญ้าแห้ง ฟางข้าวสับ เศษที่เหลือจากการเพาะเห็ด หรือขยะแห้งที่ย่อยสลายได้2.) ดินแดงหรือดินที่ขุดออกจากหลุม3.) ถ่านไม้4.) เกลือเม็ด5.) เชื้อราขาวที่ได้จากธรรมชาติที่อยู่ตามใต้ต้นไผ่ชนิดต่าง ๆ6.) น้ำหมักจุลินทรีย์จากธรรมชาติทั้งจากพืชและสัตว์ ขั้นตอนและวิธีการทำ1.) เตรียมหลุมให้ได้ตามขนาดและจำนวนสุกรที่จะเลี้ยง โดยให้มีความลึก 90 เซนติเมตร2.) ชั้นที่ 1 (ชั้นล่างสุด) ใส่แกลบ ขี้เลื่อย หรือวัสดุอื่น ๆ ที่ย่อยสลายได้ ให้สูงประมาณ 35 เซนติเมตรหรือครึ่งหนึ่งของหลุม ถ้าขนาดหลุม กว้าง 3 ยาว 3 เมตร ลึก 70 เซนติเมตร จะใส่แกลบหรือขี้เลื่อยประมาณ 400 กิโลกรัม3.) ชั้นที่ 2 ใส่ดินแดง หรือดินที่ขุดออกจากหลุม โดยใช้ 10 % ของชั้นที่ 1 หรือ 40 กก. ใส่ให้ทั่ว4.) ชั้นที่ 3 ใส่ถ่านไม้โดยใช้ 10 % ของชั้นที่ 1 หรือ 40 กก. ถ่านไม้ควรทุบให้มีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่จะทำได้ใส่ให้ทั่วทั้งหลุม5.) ชั้นที่ 4 ใส่เกลือเม็ดโดยใช้ 1 % ของชั้นที่ 1 หรือ 4 กก. โรยให้ทั่ว6.) ชั้นที่ 5 ใส่มูลสัตว์แห้ง (มูลอะไรก็ได้) โดยใช้ 10 % ของชั้นที่ 1 หรือ 40 กก. ใส่ให้ทั่วทั้งหลุม7.) ชั้นที่ 6 ใส่แกลบหรือขี้เลื่อยลงไปให้เต็มทั้งหลุมอย่าให้มองเห็นขอบหลุม8.) เมื่อใส่วัสดุทุกชนิดครบทุกชั้นแล้ว ให้รดด้วยน้ำหมักจุลินทรีย์จากธรรมชาติทั้ง และเชื้อราขาว ในอัตราส่วน 2 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ 10 ลิตร ผสมในบัวเดียวกัน รดให้ชุ่ม9.) เมื่อปฏิบัติทุกขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว ทิ้งไว้ 4 วัน แล้วจึงนำหมูลงเลี้ยงได้เลย10.) เมื่อนำหมูลงเลี้ยงแล้ว ให้ใช้น้ำหมักเชื้อจุลินทรีย์ตามข้อ 8 รดหรือราดตามตัวสุกรเพื่อล้างสิ่งปฏิกูลที่ติดมากับตัวสุกร11.) ผสมน้ำหมักจุลินทรีย์ในน้ำดื่มเพื่อให้สุกรดื่มกิน อัตราส่วนตามที่ระบุในแต่ละชนิด12 จัดสภาพแวดล้อมและโรงเรือนให้โปร่งและระบายอากาศได้ดีการทำความสะอาดโรงเรือนพื้นคอกไม่จำเป็นต้องทำความสะอาดไม่ต้องกวาดหมู จะขุดคุ้ยและมีความสุขอยู่กับการกินจุลินทรีย์ในบรรยากาศที่สบายด้วยระบบถ่ายเทอากาศที่เป็นธรรมชาติ การให้อาหารหมูและการรักษาโรค อาหารสำหรับสุกรแบบธรรมชาติ(หมูหลุม) จะเน้นการใช้วัตถุดิบอยู่ตามธรรมชาติในชุมชนได้แก่ผลไม้ และพืชสีเขียวต่างๆ เช่น เศษผักต่างๆ หยวกกล้วย ผักบุ้ง เถามันเทศ เถาฝักทอง ผักตบชวา สาหร่าย มะละกอดิบ หน่อไม้ สับปะรด แตงโม ยอดมันสำประหลัง ใบบอน ฯลฯ นำมาหมักเพื่อเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ในอาหาร ช่วยในการย่อยได้ของอาหารแทนการนำมาต้มเหมือนในสมัยก่อนซึ่งทำให้คุณค่าของอาหารจากธรรมชาตินั้นลดลง การนำเศษผัก 100 กิโลกรัมหมักกับนำตาลทรายแดงหรือกากน้ำตาล 4 กิโลกรัมและผสมเกลือ 1 กิโลกรัม หมักในถังทิ้งไว้ 7 วัน จะได้ผักหมักที่มีคุณภาพโดยมีโปรตีน 17.87 % ไขมัน 1.78 % พลังงาน 3,500 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัม หากนำไปตากให้แห้งจะมีโปรตีน 24.87 % สามารถนำไปทดแทนอาหารสำเร็จรูปได้ถึง 50 % หรืออาจนำไปสมกับเปลือกหอยป่น รำละเอียด ข้าวโพดป่น ให้สุกรกินโดยไม่ต้องใช้อาหารสำเร็จรูปเลย
การแปล กรุณารอสักครู่..