ประวัติวัดวัง ลำปำ พัทลุง ชื่อ วัดวังสถานที่ตั้ง หมู่ที่ 4 ตำบลลำปำ อำ การแปล - ประวัติวัดวัง ลำปำ พัทลุง ชื่อ วัดวังสถานที่ตั้ง หมู่ที่ 4 ตำบลลำปำ อำ อังกฤษ วิธีการพูด

ประวัติวัดวัง ลำปำ พัทลุง ชื่อ วัดว

ประวัติวัดวัง ลำปำ พัทลุง ชื่อ วัดวัง
สถานที่ตั้ง หมู่ที่ 4 ตำบลลำปำ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
ประวัติความเป็นมา
คำว่า "วัดวัง" มีที่มา 2 นัย นัยหนึ่งว่าทางทิศใต้ของวัด มีวังน้ำลึกมากเรียกว่า "หัววัง" จึงเรียกวัดวัง อีกนัยหนึ่งว่า เพราะตั้งอยู่ใกล้กับวังหรือจวนเจ้าเมือง จึงเรียกวัดวัง
วัดวัง เป็นวัดโบราณที่สร้างขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่ไม่ทราบศักราชที่แน่ชัด เนื่องจากหลักฐานยังขัดแย้งกันอยู่ เช่น
พงศาวดารเมืองพัทลุงระบุว่า พระยาพัทลุง(ทองขาว) เป็นผู้สร้างวัดวัง แต่ไม่ปรากฏปีศักราช ได้ทำการแล้วเสร็จ มีการฉลอง เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 7 พ.ศ. 2359 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
หนังสือพงศาวดาร และลำดับวงศ์สกุลเมืองพัทลุง เรียบเรียงโดยพระยาโสภณพัทลุงกุล (สว่าง ณ พัทลุง) ระบุว่า พระยาพัทลุง (ทองขาว) เป็นผู้ปฏิสังขรณ์วัดวังขึ้น มีอุโบสถ พัทธสีมา และวิหารพร้อม ใช้เป็นวัดสำหรับรับน้ำพระพิพัฒน์สัตยาสำหรับเมือง
หนังสือประวัติวัดวังของหลวงคเชนทรามาตย์ ระบุไว้ว่า พระยาพัทลุง (ทองขาว) บุตรพระยาพัทลุง (ขุนคางเหล็ก )เป็นหัวหน้าชักนำญาติพี่น้องและชาวบ้านปฏิสังขรณ์วัดวังขึ้น
คุณยายประไพ มุตตามระ (จันทโรจวงศ์) บุตรีหลวงศรีวรวัตร (พิณ จันทโรจวงศ์ ผู้เขียนพงศาวดารเมืองพัทลุง) ได้ให้ความเห็นไว้ว่า วัดวังคงจะเริ่มสร้างมาแล้วตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 แต่เพราะบ้านเมืองในสมัยนั้นมีศึกษาสงครามกับหัวเมืองมลายู และพม่าอยู่เสมอ จึงทำให้การสร้างวัดมาแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลที่ 2 ปี พ.ศ. 2359
ทำเนียบวัดจังหวัดพัทลุงของพระครูอริยสังวร (เอียด) อดีตเจ้าคณะจังหวัดพัทลุงได้ระบุว่า วัดวังสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2331 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
จากหลักฐานที่กล่าวมาพอจะสันนิษฐานได้ว่า วัดวังสร้างมาก่อน พ.ศ. 2359 และอาจจะสร้างมาแล้วตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 ก็ได้ จุดประสงค์ของการสร้างวัดนี้อาจเป็นได้ว่าเพื่อใช้เป็นวัดประจำเมือง หรือประจำตระกูล เพราะสมัยนั้นได้ย้ายเมืองพัทลุงมาตั้งที่โคกลุง บริเวณนี้ยังไม่มีวัดที่ใช้ประกอบพิธีทางศาสนา เมื่อสร้างวัดวังขึ้นแล้วก็พิจารณาเห็นว่า วัดควนมะพร้าว ซึ่งใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยามาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรีนั้นอยู่ห่างไกลจากตัวเมืองมากเกินไป จึงได้พิจารณายกวัดวังขึ้นเป็นวัดถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา ดังปรากฏในพงศาวดารเมืองพัทลุงว่า พระยาพัทลุง (ทับ) ได้ปฏิสังขรณ์วัดวังซึ่งเป็นวัดของพระยาพัทลุง(ทองขาว) ขึ้นเป็นวัดถือน้ำไว้กลางเมืองพัทลุง ให้มีการฉลองเมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 8 ปีวอก โทศก พ.ศ. 2403
ต่อมาวัดวังได้รับการบูรณะเรื่อยมา จนกระทั่งทางราชการได้ยกเลิกพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาและได้มีการย้ายเมืองพัทลุงจากตำบลลำปำไปตั้งที่ตำบลคูหาสวรรค์ คือที่ตั้งเมืองพัทลุงปัจจุบัน เมื่อ พ.ศ. 2469 วัดวังก็เริ่มทรุดโทรมลงเรื่อย ๆ จนราว พ.ศ. 2512 ทางราชการจึงได้ทำการบูรณะซ่อมแซมวัดวังใหัมั่นคงถาวรจนกระทั่งทุกวันนี้
ความสำคัญต่อชุมชน
วัดวัง เป็นวัดโบราณที่มีความสำคัญคู่กับเมืองพัทลุงมาตลอดสมัยรัตนโกสินทร์ เพราะเคยเป็นสถานที่ประกอบพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาของข้าราชการเมืองพัทลุงมาแล้วในอดีต จนกระทั่งทาง ราชการได้ได้ยกเลิกพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา และได้มีการย้ายเมืองพัทลุงจากตำบลลำปำไปตั้งที่ตำบลคูหาสวรรค์ คือที่ตั้งเมืองปัจจุบัน เมื่อ พ.ศ. 2469
ในปัจจุบันวัดวังยังคงเป็นวัดสำคัญที่ใช้ประกอบพิธีกรรมทางพุทธศาสนาในวาระต่าง ๆ เป็นแหล่งรวมของศิลปกรรมที่งดงาม ที่กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 2528 และประกาศเขตโบราณสถานอีกด้วย
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมและศิลปแขนงต่าง ๆ
วัดวัง มีพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้างยาวประมาณ 3 เส้น 12 วา คิดเป็นพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 13 ไร่ 46 ตารางวา มีรูปแบบของศิลปกรรมที่ปรากฏ ดังนี้
1. อุโบสถ ตั้งอยู่ตรงกลางวัดหันหน้าไปทางทิศตะวันออก เป็นอาคารก่อด้วยอิฐถือปูน ขนาดกว้าง 6.60 เมตร ยาว 14 เมตร หลังคาทรงไทยมุงด้วยกระเบื้องเคลือบดินเผา มีช่อฟ้าใบระกา ด้านหน้ามีมุขเก็จยื่นออกมา ภายในพระพุทธรูปปูนปั้นประทับนั่งห้อยพระบาทแสดงปางป่าเลไลย์ มีช้างและลิงปูนปั้นถวายรังผึ้ง ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ บูรณะเมื่อ พ.ศ. 2506 และครั้งหลังสุดเมื่อ พ.ศ. 2525 อุโบสถมีระเบียงคด หรือวิหารคดล้อมรอบทั้ง 4 ด้าน มีซุ้มประตู 4 ทิศ ซุ้มประตูทางทิศตะวันออก สร้างเป็นซุ้มยอด ศิลปะสมัยรัชกาลที่ 4 ภายในวิหารคดมีพระพุทธรูปปูนปั้นปางต่าง ๆ จำนวน 108 องค์ หน้าบันอุโบสถจำหลักไม้ ด้านหน้ารูปพระพายทรงม้า 3 เศียร มีลวดลายกระหนกก้านแย่งรูปยักษ์ และเทพธิดา กินรี ประกอบลงรักปิดทอง ด้านหลังเป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ 3 เศียร ลงรักปิดทองเหมือนด้านหน้า หน้าบันทั้ง 2 ได้จำลองจากของเดิม เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยนายช่างเทียม เป็นชาวกรุงเทพ ฯ จำหลักได้สวยงามไม่แพ้ของเดิม ส่วนของเดิมได้นำไปเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติสงขลา อุโบสถมีประตูทางเข้า 2 ประตู บานประตูทั้ง 4 บาน เดิมมีภาพลายรดน้ำรูปทวารบาลสวยงาม แต่มาเปลี่ยนเป็นลายดอกไม้เมื่อ พ.ศ. 2512 เหนือขอบประตูและหน้าต่างมีลวดลายปูนปั้นรูปดอกไม้พรรณพฤกษา มีสัตว์ เช่น กระรอกเป็นส่วนประกอบแบบเดียวกับที่วัดสุนทราวาส และวัดยาง แต่บางช่อมีรูปหน้ากาลปูนปั้นศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ภายในอุโบสถมีพระประธานปูนปั้นลงรักปิดทองปางมารวิชัย จำนวน 5 องค์ องค์กลางมีขนาดใหญ่ที่สุด หน้าตักกว้างประมาณ 2 เมตร สองข้างมีพระพุทธสาวก คือ พระสารีบุตร กับพระโมคคัลลาน ประทับยืนประนมมือ ด้านหน้าพระประธานมีพระพุทธรูปหล่อสำริด 1 องค์ แบบทรงเครื่องใหญ่ ปางห้ามสมุทร และพระพุทธรูปไม้บุเงินปางอุ้มบาตร 1 องค์ ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ เข้าใจว่า เป็นพระพุทธรูปที่นำมาจากกรุงเทพ ฯ สำหรับพระพุทธรูปไม้บุเงินได้ถูกคนร้ายขโมยไป ที่ริมผนังอุโบสถด้านหน้าตอนใน มีรูปยายแก่ปูนปั้นเรียกกันว่า "ยายไอ่" หรือ "ยายทองคำ" เป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้านมาก เดิมมีตะบันทองคำอยู่ 1 อัน และมีลายแทงอยู่ด้วย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
History of the temple named WAT Wang Wang publications: lampam.Location Moo 4, lampam, mueang phatthalungHistoryThe word "Palace" with the implication that the two words on the South side of the temple. There is a very deep water called Wang a "Wang" is WAT Wang. In other words that is located near the city of palaces or temples, Wang called the fourteenth Lord.The temple is an ancient temple that was built in the period, but do not know the exact era due to the conflicting evidence also.The town Chronicle publications indicate that Phraya phatthalung (white gold), who created the Palace but did not appear to have been made to the Gregorian year completed. There are celebrations on Monday, month 7, b.e. 2359 matches two of the reign period.The book chronicles and swamp the town phatthalung currency remix by Phraya phatthalung Sopon d.SC. (bright at phatthalung) Specifies whether the Phraya phatthalung (white gold) is a restored Palace up. There is a temple and phatthasima Temple are ready. Used as a measure for the water God Manuel Satya for the city.The book history of khachen Palace travel mat Phraya phatthalung said (white gold), son of Phraya phatthalung (Khun Chin) is the head of their relatives and villagers during the Palace up.Grandmother praphai Mut in (Chan tharot Wong) Luang PHO SI wonwat (harp Chan tharot Wong The author chronicles the town phatthalung) has commented that the Palace would be built from the start to the reign of the city in those days, but because there is a war with the head of studies, mueangomlayu, and Myanmar is always to build the temple was completed in the reign of the 2nd 2359.The Temple of Phra khru phatthalung House noble mark (IAD), former Primate phatthalung stating that Palace, built in the reign of 2331 match of Rattanakosin.From the above evidence sufficient to assume that the Palace was built before, and could be built 2359 abdicated since the reign of King Rama v. The purpose of the creation of this measure may be that to use the town's temple or family because it moved the town phatthalung came at khok uncle. This area does not yet have a measure that the religious ceremony. When building a Palace, consider measuring the Quan coconut ceremony venues that hold water pipat Satya since thon buri is located far from the city too much. We are therefore considering excluding a Palace holds water therefore appear in the Chronicle Manuel Satya city breaks that Phraya phatthalung () has restored Palace, which is a measure of the Phraya phatthalung (white gold), is considered the center of the city Temple publications, celebrated on Thursday 14 November 8 monkey decade b.e. 2403.Later, the Palace has been restored and until the Government has canceled the ceremony holding the water Lord Manuel Satya and moved to the city of phatthalung district from booth to lampam subdistrict, heaven. Is the current city publications? Wang began to measure once dilapidated 2469 down until Rao Government has abdicated 2512 reconstructed Palace a site stable fixed until today.Vital communities.The temple is an ancient temple is an important partner with city breaks throughout the period, because it used to be at the ceremony holding the water, city officials Satya Manuel breaks came in the past until the Government has canceled the ceremony holding the water Lord Manuel Satya and moved to the city of phatthalung district from booth to lampam subdistrict, heaven is the current town area. Once 2469In the present Palace is still the key measure used in Buddhist rites of various agenda items of fine arts at the fine arts Department has registered since the announcement and announced another archeological district, 2528, with.The architectural style and the arts and any other Wat Wang There is a square-shaped area. Width approx. 3-12 WA is approximately 13 acres 46 square meters have a form of artistic production that appears. As follows:1. อุโบสถ ตั้งอยู่ตรงกลางวัดหันหน้าไปทางทิศตะวันออก เป็นอาคารก่อด้วยอิฐถือปูน ขนาดกว้าง 6.60 เมตร ยาว 14 เมตร หลังคาทรงไทยมุงด้วยกระเบื้องเคลือบดินเผา มีช่อฟ้าใบระกา ด้านหน้ามีมุขเก็จยื่นออกมา ภายในพระพุทธรูปปูนปั้นประทับนั่งห้อยพระบาทแสดงปางป่าเลไลย์ มีช้างและลิงปูนปั้นถวายรังผึ้ง ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ บูรณะเมื่อ พ.ศ. 2506 และครั้งหลังสุดเมื่อ พ.ศ. 2525 อุโบสถมีระเบียงคด หรือวิหารคดล้อมรอบทั้ง 4 ด้าน มีซุ้มประตู 4 ทิศ ซุ้มประตูทางทิศตะวันออก สร้างเป็นซุ้มยอด ศิลปะสมัยรัชกาลที่ 4 ภายในวิหารคดมีพระพุทธรูปปูนปั้นปางต่าง ๆ จำนวน 108 องค์ หน้าบันอุโบสถจำหลักไม้ ด้านหน้ารูปพระพายทรงม้า 3 เศียร มีลวดลายกระหนกก้านแย่งรูปยักษ์ และเทพธิดา กินรี ประกอบลงรักปิดทอง ด้านหลังเป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ 3 เศียร ลงรักปิดทองเหมือนด้านหน้า หน้าบันทั้ง 2 ได้จำลองจากของเดิม เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยนายช่างเทียม เป็นชาวกรุงเทพ ฯ จำหลักได้สวยงามไม่แพ้ของเดิม ส่วนของเดิมได้นำไปเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติสงขลา อุโบสถมีประตูทางเข้า 2 ประตู บานประตูทั้ง 4 บาน เดิมมีภาพลายรดน้ำรูปทวารบาลสวยงาม แต่มาเปลี่ยนเป็นลายดอกไม้เมื่อ พ.ศ. 2512 เหนือขอบประตูและหน้าต่างมีลวดลายปูนปั้นรูปดอกไม้พรรณพฤกษา มีสัตว์ เช่น กระรอกเป็นส่วนประกอบแบบเดียวกับที่วัดสุนทราวาส และวัดยาง แต่บางช่อมีรูปหน้ากาลปูนปั้นศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ภายในอุโบสถมีพระประธานปูนปั้นลงรักปิดทองปางมารวิชัย จำนวน 5 องค์ องค์กลางมีขนาดใหญ่ที่สุด หน้าตักกว้างประมาณ 2 เมตร สองข้างมีพระพุทธสาวก คือ พระสารีบุตร กับพระโมคคัลลาน ประทับยืนประนมมือ ด้านหน้าพระประธานมีพระพุทธรูปหล่อสำริด 1 องค์ แบบทรงเครื่องใหญ่ ปางห้ามสมุทร และพระพุทธรูปไม้บุเงินปางอุ้มบาตร 1 องค์ ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ เข้าใจว่า เป็นพระพุทธรูปที่นำมาจากกรุงเทพ ฯ สำหรับพระพุทธรูปไม้บุเงินได้ถูกคนร้ายขโมยไป ที่ริมผนังอุโบสถด้านหน้าตอนใน มีรูปยายแก่ปูนปั้นเรียกกันว่า "ยายไอ่" หรือ "ยายทองคำ" เป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้านมาก เดิมมีตะบันทองคำอยู่ 1 อัน และมีลายแทงอยู่ด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: