บทความเชิงวิชาการเรื่อง ความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้ความเหลื่อมล้ำทางด้ การแปล - บทความเชิงวิชาการเรื่อง ความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้ความเหลื่อมล้ำทางด้ อังกฤษ วิธีการพูด

บทความเชิงวิชาการเรื่อง ความเหลื่อม

บทความเชิงวิชาการ
เรื่อง ความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้
ความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้จากการศึกษาพบว่าประเทศไทยยังคงมีปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในระดับที่ค่อนข้างสูง ลักษณะดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าแม้ประเทศไทยจะมีรายได้ประชาชาติมวลรวมต่อบุคคลในระดับที่สูงขึ้น แต่รายได้ที่เพิ่มขึ้นนั้นกลับไม่ได้ถูกจัดสรรให้แก่ประชากรทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียม ทั้งนี้ แนวทางหลักในการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้อยู่ที่การเพิ่มโอกาสและศักยภาพของคนตลอดจนการส่งเสริมนโยบายและระบบบริหารจัดกาภาครัฐ ที่เหมาะสมโดยทั่วแล้วการพัฒนาเศรษฐกิจ(EconomicDevelopment)กระบวนการที่ก่อให้เกิดความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจโดยสม่ำเสมอและเป็นเวลายาวนาน โดยทำให้รายได้ที่แท้จริงต่อบุคคลสูงขึ้น และต้องมีการกระจายรายได้อย่างเสมอภาค ประชากรส่วนใหญ่จะต้องได้รับประโยชน์จากรายได้ที่เพิ่มขึ้นอย่างทัดเทียมกันรวมถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจสังคมทัศนคติ ระบบ การเมือง การบริหาร การศึกษา และค่านิยมของสังคมที่เหมาะสม ถือเป็นสิ่งที่ภาครัฐของทุกประเทศต้องการ เนื่องจากเป็นสิ่งที่จะนำมาซึ่งรายได้และมาตรฐานการครองชีพที่สูงขึ้นของประชาชนตลอดการกระจายรายได้ที่เท่าเทียมและเป็นธรรมของประชาชนในประเทศ และจะนำไปสู่เสถียรภาพและความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมและคุณภาพชีวิตที่สูงขึ้นของประชาชนในประเทศในท้ายที่สุดากความหมายและเป้าหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจ ดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่ารายได้และมาตรฐานการครองชีพที่สูงขึ้นและการกระจายรายได้ที่เท่าเทียม หรืออีกนัยหนึ่งคือ การลดความเหลื่อมล้ำทางรายได้ถือเป็นสิ่งสำคัญที่ภาครัฐต้องเร่งดำเนินการในอันดับต้นหากต้องการประสบความสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ เนื่องจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ไม่ได้เป็นเพียงปัญหาเศรษฐกิจเพียงเท่านั้นแต่ยังถือเป็นปัญหาที่สั่นคลอนความมั่นคงทางสังคมและคุณภาพชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ดังกล่าว ทำให้บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในประเทศไทย เพื่อสะท้อนระดับของปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ของประเทศไทยตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งนำเสนอประเด็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไขและแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวต่อไป



ความเหลื่อมล้ำทางรายได้
ความเหลื่อมล้ำทางรายได้(Income Inequality) ถือเป็นความยากจนเชิงสัมพัทธ์ หรือความยากจนเชิงเปรียบเทียบ(Relative Poverty) หมายถึง การที่รายได้รวมของประเทศถูกจัดสรรไปยังประชาชนกลุ่มต่างๆ ในประเทศอย่างไม่เป็นธรรมนั่นคือ การที่รายได้ไปกระจุกตัวอยู่ที่ประชาชนเพียงบางกลุ่มหรือประชาชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้นซึ่งส่วนใหญ่แล้วมักเป็นกลุ่มผู้ที่มีรายได้สูง(สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย,2546) ดังนั้นการที่ประเทศมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งทำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศและรายได้ประชาชาติมวลรวมสูงขึ้นรวมถึงทำให้ประชาชนมีรายได้ต่อบุคคลโดยเฉลี่ยสูงขึ้นและมีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้นนั้น จึงยังไม่สามารถบ่งบอกคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศได้อย่างแท้จริงทั้งนี้ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ปัญหาความยากจนทวีความรุนแรงขึ้นโดยเฉพาะกับกลุ่มที่มีรายได้ต่ำแม้ว่าบางคนจะไม่ถือเป็นคนจน (นั่นคือมีรายได้สูงกว่าเส้นความยากจน) ก็ตาม เนื่องจากจะเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาความเหลื่อมล้ำระหว่างชั้นชนในสังคมและย่อมทำให้เกิดปัญหาสังคมตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้แม้ว่าภาครัฐจะสามารถลดความยากจนลงได้ก็ตาม ความเหลื่อมล้ำทางรายได้สามารถวัดได้หลายวิธีเช่นการใช้ค่าความแปรปรวนของรายได้ การใช้ค่าสัดส่วนของรายจ่ายและรายได้ของประชากรแต่ละกลุ่มต่อรายได้และรายจ่ายของประชากรทั้งหมด(Moriguchi & Saez, 2006; Whalley & Yue, 2006; สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได้, 2550) การใช้ดัชนีTheil (Conceicao & Ferreira, 2000) และการใช้ค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค เป็นต้น อย่างไรก็ตาม บทความเรื่องนี้จะใช้สัดส่วนของรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคและรายได้ของประชากรต่อรายจ่ายและรายได้ของประชากรทั้งหมด และค่าสัมประสิทธิ์ความเสมอภาคของรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคและรายได้ของประชากร เพื่ออธิบายสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในประเทศไทย ทั้งนี้สำนักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได้ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการวัดความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในประเทศไทยได้ทำการแบ่งประชากรออกเป็น 5 กลุ่ม จำแนกตามระดับรายได้และวัดความเหลื่อมล้ำทางรายได้ของประชากรโดยพิจารณาจาก(1) รายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคของประชากรและ (2) รายได้ของประชากรโดยนำค่าทั้ง 2 มาคำนวณสัดส่วนของรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคและรายได้ของประชากรของประชากรแต่ละกลุ่มต่อรายจ่ายและรายได้ของประชากรทั้งหมดจากนั้นซึ่งพิจารณาความเหลื่อมล้ำทางรายได้โดยดูจากความแตกต่างของสัดส่วนรายจ่ายและรายได้ของกลุ่มที่มีรายได้สูงที่สุดและกลุ่มที่มีรายได้ต่ำที่สุดนั่นเอง นอกจากนี้ ยังได้คำนวณค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคซึ่งมีค่าอยู่ระหว่าง 0 และ 1 โดยหากค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคยิ่งมีค่าเข้าใกล้1มากเท่าใดแสดงว่าความเหลื่อมล้ำของรายได้ยิ่งมีมากขึ้นเท่านั้น (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2553)

สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในประเทศไทย
แม้สถานการณ์ความยากจนในประเทศไทยจะดีขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดช่วงปีพ.ศ. 2531 - 2552 แต่สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางรายได้กลับเป็นไปในทิศทางตรงกันข้าม กล่าวคือ ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในประเทศไทยไม่ได้ลดลงแม้แต่น้อย จากค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค พบว่าประเทศไทยยังคงมีปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในระดับค่อนข้างสูงและมีความรุนแรงมากขึ้นเล็กน้อย เมื่อพิจารณาในระดับภูมิภาค พบว่าการเปลี่ยนแปลงของสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคของทุกภูมิภาค เป็นไปในลักษณะเดียวกันกับระดับประเทศนั่นคืออยู่ในระดับสูงและเพิ่มขึ้นเล็กน้อยตลอดช่วงเวลาที่ทำการศึกษาในระดับภูมิภาค ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในภาคใต้มีความรุนแรงมากที่สุดในประเทศ สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำในประเทศไทยอยู่ในขั้นที่รุนแรง จากการศึกษาการพัฒนาของเศรษฐกิจประเทศไทยเป็นระยะเวล
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Academic articles.Re: inequalities in income.Inequalities in income from that country, Thai is still a problem in revenue inequalities a relatively high level. It shows that even though the country is Thai gross income per person in the nation to a higher level. But the increase in revenue was not allocated to any particular population equally. This is. The main way to solve the problem is income inequalities increase people's opportunities and potential, as well as promoting policies and management systems, check the appropriate sector generally, and economic development (EconomicDevelopment) process that is causing a growing. Economic and long by making a real income per person, higher income distribution and equity. Most of the population would benefit from the increased revenue is tantamount, including structural changes in economic, social attitudes. The political system of administration, education and values of a society that is suited to the public sector of all countries want to because this is something that will bring income and higher living standards of the people throughout the income distribution, equity and fairness in the.And to contribute to the stability and economic and social stability and the quality of life of the people in the higher end of the u.s, and rectal prolapse the goal of economic development. As mentioned above, you can see that the income and living standards rise and income distribution that are equal, or in other words, reduce income inequalities is considered to be important that the Government must hasten action on top if you want to succeed in developing saraset.Consequently, due to income inequalities not only economic problems but also considered issues that destabilize social security and quality of life of mankind as the very. Such income inequalities This article is intended to present circumstances, income inequalities in the country, Thai. To reflect the level of the problem of income inequalities in the past from Thai to date as well as the presentation of the issues should have been resolved and solutions to them.Income inequalitiesความเหลื่อมล้ำทางรายได้(Income Inequality) ถือเป็นความยากจนเชิงสัมพัทธ์ หรือความยากจนเชิงเปรียบเทียบ(Relative Poverty) หมายถึง การที่รายได้รวมของประเทศถูกจัดสรรไปยังประชาชนกลุ่มต่างๆ ในประเทศอย่างไม่เป็นธรรมนั่นคือ การที่รายได้ไปกระจุกตัวอยู่ที่ประชาชนเพียงบางกลุ่มหรือประชาชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้นซึ่งส่วนใหญ่แล้วมักเป็นกลุ่มผู้ที่มีรายได้สูง(สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย,2546) ดังนั้นการที่ประเทศมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งทำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศและรายได้ประชาชาติมวลรวมสูงขึ้นรวมถึงทำให้ประชาชนมีรายได้ต่อบุคคลโดยเฉลี่ยสูงขึ้นและมีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้นนั้น จึงยังไม่สามารถบ่งบอกคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศได้อย่างแท้จริงทั้งนี้ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ปัญหาความยากจนทวีความรุนแรงขึ้นโดยเฉพาะกับกลุ่มที่มีรายได้ต่ำแม้ว่าบางคนจะไม่ถือเป็นคนจน (นั่นคือมีรายได้สูงกว่าเส้นความยากจน) ก็ตาม เนื่องจากจะเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาความเหลื่อมล้ำระหว่างชั้นชนในสังคมและย่อมทำให้เกิดปัญหาสังคมตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้แม้ว่าภาครัฐจะสามารถลดความยากจนลงได้ก็ตาม ความเหลื่อมล้ำทางรายได้สามารถวัดได้หลายวิธีเช่นการใช้ค่าความแปรปรวนของรายได้ การใช้ค่าสัดส่วนของรายจ่ายและรายได้ของประชากรแต่ละกลุ่มต่อรายได้และรายจ่ายของประชากรทั้งหมด(Moriguchi & Saez, 2006; Whalley & Yue, 2006; สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได้, 2550) การใช้ดัชนีTheil (Conceicao & Ferreira, 2000) และการใช้ค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค เป็นต้น อย่างไรก็ตาม บทความเรื่องนี้จะใช้สัดส่วนของรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคและรายได้ของประชากรต่อรายจ่ายและรายได้ของประชากรทั้งหมด และค่าสัมประสิทธิ์ความเสมอภาคของรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคและรายได้ของประชากร เพื่ออธิบายสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในประเทศไทย ทั้งนี้สำนักพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได้ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการวัดความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในประเทศไทยได้ทำการแบ่งประชากรออกเป็น 5 กลุ่ม จำแนกตามระดับรายได้และวัดความเหลื่อมล้ำทางรายได้ของประชากรโดยพิจารณาจาก(1) รายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคของประชากรและ (2) รายได้ของประชากรโดยนำค่าทั้ง 2 มาคำนวณสัดส่วนของรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคและรายได้ของประชากรของประชากรแต่ละกลุ่มต่อรายจ่ายและรายได้ของประชากรทั้งหมดจากนั้นซึ่งพิจารณาความเหลื่อมล้ำทางรายได้โดยดูจากความแตกต่างของสัดส่วนรายจ่ายและรายได้ของกลุ่มที่มีรายได้สูงที่สุดและกลุ่มที่มีรายได้ต่ำที่สุดนั่นเอง นอกจากนี้ ยังได้คำนวณค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคซึ่งมีค่าอยู่ระหว่าง 0 และ 1 โดยหากค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคยิ่งมีค่าเข้าใกล้1มากเท่าใดแสดงว่าความเหลื่อมล้ำของรายได้ยิ่งมีมากขึ้นเท่านั้น (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2553)Circumstances income inequalities in the country, Thaiแม้สถานการณ์ความยากจนในประเทศไทยจะดีขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดช่วงปีพ.ศ. 2531 - 2552 แต่สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางรายได้กลับเป็นไปในทิศทางตรงกันข้าม กล่าวคือ ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในประเทศไทยไม่ได้ลดลงแม้แต่น้อย จากค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค พบว่าประเทศไทยยังคงมีปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในระดับค่อนข้างสูงและมีความรุนแรงมากขึ้นเล็กน้อย เมื่อพิจารณาในระดับภูมิภาค พบว่าการเปลี่ยนแปลงของสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคของทุกภูมิภาค เป็นไปในลักษณะเดียวกันกับระดับประเทศนั่นคืออยู่ในระดับสูงและเพิ่มขึ้นเล็กน้อยตลอดช่วงเวลาที่ทำการศึกษาในระดับภูมิภาค ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในภาคใต้มีความรุนแรงมากที่สุดในประเทศ สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำในประเทศไทยอยู่ในขั้นที่รุนแรง จากการศึกษาการพัฒนาของเศรษฐกิจประเทศไทยเป็นระยะเวล
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Academic paper
. Inequality in income
.Inequality in the income, the study found that there are still some problems in income inequality the level is relatively high. Such characteristics shows that even a national income per person in the aggregate level higher.The main way in solving the inequality in income is increasing the opportunities and the potential of people as well as the promotion policy and management system management and government.Economic regularly and for a long time. The real income per person increased. And there must be spread income equality.The system of politics, administration, education and social values is appropriate. Is what the government of every country.And will lead to stability and security, economic and social life of the people and higher in the country in the end from the meaning and goal of economic development. As mentioned above.In other words, Reducing inequality in income is important for the government to enhance the top if want to succeed in the economic development.Inequality on this income. Make this article aims to present the situation of income inequality in the country.As well as the presentation of issues should be resolved and the solutions to the problems the next
.



. Income inequalityInequality in income (Income Inequality) is a relative poverty Comparative or poverty (Relative Poverty) means that the total income of the country is allotted to the minorities. In the country, unfairly, that is2546) so that the country has economic growth. The gross domestic product and the national income gross also make people have higher income per person on average higher and a standard of living rise.It also can not represent the quality of life of the people in the country are truly the gradients. Income holds the key to the problem of poverty deteriorating, especially กับกลุ่มที่มี low income, though some are not.Is poor.(that is, a higher income than the poverty line).Inequality of revenue can be measured in several ways, such as using the variance of revenue. The proportion of expenditure and income of the population of each group on the income and expenditure of the population all (Moriguchi, & Saez2006; Whalley, & Yue 2006; the office of economic development and income distribution, the 2550) using index Theil (Conceicao, & Ferreira2000) and using the coefficient of inequality, etc. However, this article will ใช้สั parts of expenditures for consumption and income of per capita expenditure and income of the population as a whole.To explain the situation of income inequality in the country. The office of economic development and income distribution, which is the responsible agency in inequitable income measurement in the divided the population into.The group classified by level of income inequality in the income of the population and measured by considering (1). Expenditure for consumption of the population and (2) income of the population by the whole 2.To calculate the proportion of the expenditure for consumption and income of the population of each population group on expenditure and income of the entire population, then the income inequality based on the difference of proportions and expenditure.You have a group of high income and low income group the most with the most.Also, calculate the coefficient of inequality, which ranged from 0 1 coefficient and the inequality is more valuable to 1 much that income distribution more is more.2553)


even income inequality situation in poverty situation in will be improved continuously throughout the year2531 - 2552 income inequality, but the situation is going in the opposite direction, i.e., the problem of unequal income in does not decrease even less. Coefficient inequalityConsidering the regional level. It was found that the change of coefficient of inequality of all regions.Problems of income inequality in the south there is violence is the largest in the country. The inequality in in step is severe. From the development of economy in a whale.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: