Chapter 4: quantity relationshipsQuiz Chapter 4Chapter 5 solid, liquid, gasQuiz Chapter 5The history makerThe accumulated work.ReferencesThe site map.The author of the page.SUPA porn days, RicoOctober 7, 2012Chapter 4: quantity relationshipsXin ye: leave the cows he mass rule. เมื่อเคมีสมัยใหม่เริ่มต้นในศริสตศตวรรษที่ 18 นักวิทยาศาสตร์เริ่มที่จะสังเกตปริมาณของสาร จากการทดลองของลาวัวซิเยร์ เพื่อแยกแก๊สออกซิเจนออกมา ในการทดลองของ ลาวัวซิเยร์ มีอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องดังรูป ด้านล่าง โดยที่นำเมอร์คิวรี่(II)ออกไซด์ใส่ลงไปในขวดคอยาวโดยที่คอขวดต่ออยู่กับครอบแก้วรูประฆังมีปริมาตร 40 ลูกบาศก์นิ้วสำหรับเก็บแก๊สที่เผาได้ โดยใช้เตาเผาที่มีถ่าน (charcoal) เป็นเชื้อเพลิง เขาได้ชั่งน้ำหนักของสารเริ่มต้น ก่อนเผาไว้ จากนั้นทำการเผา เมอร์คิวรี่(II)ออกไซด์ เป็นเวลา 12 วัน จะสังเกตได้ว่าระดับน้ำในขวดรูประฆังลดลงแสดงว่าต้องมีแก๊สเกิดขึ้น ทดสอบโดยการจุดเทียนไขได้เปลวไฟที่สว่าง มากกว่าปกติ ส่วนในขวดคอยาวพบว่ามีปรอทเหลว(mercury) From the weight of the long neck bottle precursor and product. He found that the total mass of the products. With a mass equivalent to mercury (II) oxide at the start. He therefore concluded that he rules out mass."The mass of the substance before the reaction is equal to the mass of the substance after reaction." Therefore, Burning mercury (II) oxide (Mercedes q Zurich oxide), two types of products: Mercury (mercury liquid) and oxygen gas equation:2HgO → 2Hg + O2Example 1 On the occurrence of water molecules must be used in combination with oxygen, hydrogen, 2 mol 1 mol 2 mol of water molecules, so that this ratio forever. The pictures below show.2H2 + O2 → 2H2O โมลก่อนที่จะเรียนรู้ว่าโมล คืออะไร เรามาทำความรู้จักกับอะตอม มวลโมเลกุล สูตรโมเลกุล และน้ำหนักโมเลกุลกันเสียก่อนอะตอม เป็นส่วนที่เล็กที่สุดของธาตุ ที่สามารถแสดงคุณสมบัติของธาตุนั้นๆ ได้ เช่น H , S , Al , Fe เป็นต้น ส่วนธาตุที่มีเลขอะตอมเหมือนกัน แต่มีเลขมวลต่างกันก็จัดเป็นธาตุเดียวกัน มีสมบัติทางเคมีเหมือนกัน แต่มีสมบัติทางกายภาพบางประการต่างกัน เรียกว่า เป็นไอโซโทปกัน โมเลกุลเกิดจากการรวมกันของอะตอม สามารถแบ่งออกได้เป็น 1. โมเลกุลอะตอมเดี่ยว ได้แก่ พวกแก๊สเฉื่อย He, Ne, Ar , Kr , Xe, Rn 2. โมเลกุลอะตอมคู่ เช่น H2 , O2 ,N2 ,HCl , CO , HF 3.โมเลกุลหลายอะตอม P4, S8, H2O, CH4, C6H12O6 อะตอม มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10-10 เมตร (1A ํ) อะตอมที่เบาที่สุดหนัก 1.66 x 10-24 กรัม อะตอมที่หนักที่สุดหนัก 250 x 1.66 x 10-24 กรัม รูปแสดงเกิดพันธะของอะตอมกลายเป็นโมเลกุล มวลอะตอมเป็นมวลเปรียบเทียบ โดยเทียบจากมวลของ C-12 1 อะตอม มีหน่วยเป็น amu (atomic mass unit) ในธรรมชาติธาตุแต่ละชนิดอาจมีหลายไอโซโทป และพบในจำนวนที่ต่างกัน มวลอะตอมที่ระบุในตารางธาตุ จึงเป็นมวลอะตอมเฉลี่ยของไอโซโทปทั้งหมด ซึ่งเรียกว่า มวลอะตอมเฉลี่ยเปอร์เซนต์ของธาตุ = อัตราส่วนที่พบในธรรมชาติ x 100%ดังนั้น มวลอะตอมที่เขียนไว้ในตารางธาตุ ก็คือ มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ นั่นเองมวลโมเลกุล เป็นผลบวกของมวลอะตอมของแต่ละธาตุในโมเลกุลนั้น ตัวอย่าง การคำนวณมวลโมเลกุลของ NH3 มวลอะตอมของ N = 14 และมวลอะตอมของ H = 1 ดังนั้นมวลโมเลกุลของ NH3 = 14 + (1x3) = 17 โมลเราสามารถนับจำนวนอะตอมหรือโมเลกุลที่อยู่ในสารชนิดหนึ่งได้หรือไม่? เรานับได้แต่เราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ดังนั้น ถ้ากำหนดหน่วยขึ้นมาเพื่อที่จะสามารถมองเห็นภาพได้ชัดเจน เช่น ใช้หน่วยโหลเพื่อใช้นับของจำนวน 12 ชิ้น หรือของจำนวน 12 โหล เป็นจำนวน 1 กุรุส ดังนั้น โมลก็ถือว่าเป็นตัวคูณจำนวนที่ต้องการแสดงว่ามีมากจนสามารถเห็นภาพของจำนวนได้ว่ามากหรือน้อยเท่าใด รูปข้างล่างแสดงถึงจำนวนเชอร์รี่ 1 ลูก แต่ถ้าเพิ่มจำนวนมากขึ้น เป็น 12 ลูก เราก็จะเปลี่ยนว่ามี เชอร์รี่ 1โหล เอาเป็นว่า เรารู้กันว่า 1 โหลมันมี 12 ลูก แต่ถัาเรากำหนดเองว่า ทีนี้จะใส่เชอร์รี่ลงไป 40 ลูก กำหนดว่ามันคือ 1 ถาด ถ้าสมมติว่าเราอยากจะสั่งเชอร์รี่ 1 โมลต้องมีกี่ลูกนะ? (แต่ในความเป็นจริงไม่มีใครใช้โมลในการนับจำนวนของ เราเอาไว้ใช้กับอะตอมน่าจะเหมาะสมกว่า) แล้วถ้าลองนำเชอร์รี่มาชั่งนำหนัก 1ลูก จะเท่ากับ กล้วย 1 ลูกหรือไม่ คำตอบคือไม่เท่ากันอยู่แล้วดังนั้นอะตอมเป็นหน่วยที่เล็กเราจึงกำหนดหน่วยเป็นโมล ซึ่ง 1 โมล มีจำนวนเท่ากับ 6.02x1023 อนุภาค (อะตอม ,โมเลกุล หรือไอออน) เราเรียกค่านี้ว่า ค่าคงที่ของอาโวกาโดร (NA) ดังนั้น โมล คือ จำนวนของสารซึ่งมีจำนวนอนุภาคเท่ากับจำนวนอะตอม ของ C-12 จำนวน 12 กรัม โดยเขียนความสัมพันธ์ได้ว่า1 โมลของ C= 6.02 x 1023 อะตอม= 12 g1 โมลของ CO2= 6.02 x 1023 โมเลกุล= 44 g1 โมลของ NaCl= 6.02 x 1023 โมเลกุล= 58.5 gดังนั้น สารใดๆ 1 โมล มีมวลเท่ากับมวลอะตอม หรือมวลโมเลกุล หน่วยเป็นกรัม เราจะได้ความสัมพันธ์ของโมล คือ โมล = มวลเป็นกรัม (g) มวลโมเลกุล (g/mol) ตัวอย่าง จงคำนวณจำนวนกรัมของ 0.155 โมลของ CH4แนวคิดมวลโมเลกุลของ CH4 = 12 + (4x1) = 16ดังนั้นจำนวนกรัมของ CH4 = 16g x 0.155 mol = 2.48 g
1 mol
การหาเปอร์เซนต์มวลองค์ประกอบจากสูตรเคมี
เราสามารถหามวลขององค์ประกอบในสูตรโมเลกุลได้ โดยคำนวณเป็นเปอร์เซนต์ของอัตราส่วนระหว่างธาตุกับมวลโมเลกุลของสารประกอบนั้นๆ
เปอร์เซนต์โดยมวล = อัตราส่วนมวลของธาตุ x 100%
ตัวอย่างที่ 8 จงคำนวณหาเปอร์เซนต์โดยมวลของ C ใน butane (C4H10)
1. C4H10 (สูตรโมเลกุลประกอบด้วย C 4 อะตอมและ H 10 อะตอม)
2. มวลของ C ในโมเลกุลของบิวเทน คือ (4 x 12.001) g = 48.004 g
3. มวลของ Hในโมเลกุลของบิวเทน คือ (10 x 1.0079) g = 10.079 g
4. มวลโมเลกุลของบิวเทน คือ 48.004 + 10.079 g = 58.123 g
5. เปอร์เซนต์โดยมวลของ C ในบิวเทน คือ
48.004 x 100% = 82.66%
58.123
สมการเคมี
สมการเคมีเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารตั้งต้น (อาจเป็นปฏิกิริยาระหว่างโมเลกุล อะตอม หรือไอออนก็ได้) เพื่อเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ โดยเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ และสูตรโมเลกุลที่เป็นตัวแทนของธาตุที่อยู่ในสารประกอบ
ตัวอย่างสมก
การแปล กรุณารอสักครู่..