Human Rights Watch (Human Right) means that all men are entitled to equality. There is a dignity of human beings. Freedom and equality of individuals certified in both thought and action, not compromise. By protected, according to the Constitution of the Kingdom of Thailand, and international treaties. 1. human dignity (Human Dignity) refers to a property of the mind. Rights reserved only for the satisfaction of all men, and maintained that other people come to compromise. The violation of human dignity, it is something that must be protected and receive justice from the State. 2. why humans must be protected human rights. Arising from the1. all men are born, shall have the right in itself.2. a man is a social animal.3. human dignity as a human being is born.4. all men are born with as an inequality. 3. the most important principles of human rights, the human dignity of every person is of equal. Constitution of the Kingdom of Thailand Buddhist 2550 has human dignity and given the Government a public section. Government agencies continue to fulfill duties in consideration of the human dignity of all people. 4. the protection of human rights in the country, Thailand.1. สังคมไทยเป็นสังคมที่ต่างเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์ สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสันติ จนกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวในความเป็นไทยโดยไม่มีการแตกแยก ยอมรับความหลากหลาย มีจิตใจเอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน จึงไม่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนในเรื่องการแบ่งชนชั้น หรือเผ่าพันธุ์ แต่การละเมิดสิทธิมนุษยชนก็ยังปรากฏอย่างต่อเนื่อง เช่น การละเมิดสิทธิเด็ก เช่น การละเมิดทางเพศ แรงงาน ยาเสพติด อบายมุข ความรุนแรงในการลงโทษ การละเมิดสิทธิสตรี ในสังคมไทยยังปรากฏการใช้ความรุนแรงต่อผู้หญิงในครองครัว ความรุนแรงทางเพศในที่สาธารณะ ที่บ้าน ที่ทำงาน สถานกักกัน การล่อลวงทางอินเตอร์เน็ต โรงภาพยนตร์ บนรถเมล์2. to participate in the protection of human rights. People should be involved in the protection of human rights in Thailand following.1. human rights education in the social development of Thailand, where knowledge, skills, values in the protection of human rights.2. to promote and develop their potential. Personality and human dignity to the fullest3. participation in the activities of the national land with liberty ison.4. the use of economic, social, political rights effective.5. study the knowledge about the Organization related to human rights in the country, Thailand.The Organization related to human rights in the country, Thailand. .1. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ2. ศาลต่าง ๆ ได้แก่ ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรรม ศาลปกครอง และศาลทหาร3. มูลนิธิเพื่อพัฒนาเด็ก4. มูลนิธิสงเคราะห์เด็กยากจน ซี.ซี.เอฟ5. มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก6. มูลนิธิปวีณาหงสกุลเพื่อเด็กและสตรีองค์กรสิทธิมนุษยชน ระดับโลก1. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ 2. กองทุนสงเคราะห์เด็กแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูนิเซฟ (UNICEF)ศาลในปัจจุบันจึงมีบทบาทในการให้ความยุติธรรมในด้านสิทธิมนุษยชน เช่น1. การคุ้มครองผู้เสียหายตามกฎหมาย2. สิทธิของพยานในคดีอาญาที่จะได้รับการคุ้มครองและปฏิบัติที่เหมาะสม
3. ข้อสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ถูกกล่าวหาในคดีอาญาไม่มีความผิด
4. การจัดและคุมขังบุคคลใด ๆ ในคดีอาญาจะกระทำได้ก็ต่อเมื่อมีคำสั่งหรือหมายศาล ยกเว้นการกระทำผิดซึ่งหน้า
5. สิทธิของผู้ต้องหาในการให้ทนายความหรือผู้ซึ่งตนไว้วางใจเข้าฟังการสอบปากคำตนได้
สิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
มีบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพและสิทธิมนุษยชนไว้หลายประการ ดังนี้
1. ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
2. ความเสมอภาคของบุคคล
3. สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย
4. สิทธิของผู้ต้องหา
5. สิทธิของพยานและผู้เสียหายในคดีอาญา
6. สิทธิของเด็ก
7. เสรีภาพในการนับถือศาสนา
8. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
9. เสรีภาพทางการศึกษา
10. สิทธิในทรัพย์สิน
11. สิทธิในบริการสาธารณสุข 12. สิทธิของคนพิการหรือทุพพลภาพ และของคนชรา
13. สิทธิของผู้บริโภค 14. สิทธิของชุมชนท้องถิ่น
15. เสรีภาพในการรวมกลุ่ม 16. สิทธิในการรับรู้และมีส่วนร่วม
17. สิทธิในการร้องทุกข์และฟ้องคดี 18. สิทธิและเสรีภาพอื่นๆ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
วันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ.1948 ประเทศสมาชิกสหประชาชาติได้รับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Right: UDHR) โดยสมัชชาแห่งสหประชาชาติ ถือเป็นการกำหนดมาตรฐานสากลด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งไทยเป็นประเทศหนึ่งที่ร่วมกับประเทศต่าง ๆ ให้การรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
สิทธิเด่น ๆ ที่ระบุไว้ในปฏิญญาสากล ว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
สิทธิต่อชีวิต เสรีภาพและความปลอดภัยของบุคคล การศึกษา เสรีภาพทางความคิด มโนธรรมและศาสนา เสรีภาพแห่งความคิดเห็น การแสดงออก การมีงานทำ การแสวงหาและได้รับการลี้ภัย ในประเทศอื่น (เป็นต้น)
วันแห่งสิทธิมนุษยชนโลก ตรงกับวันที่ 10 ธันวาคม
หน่วยงานในสหประชาชาติ (UN) ที่รับผิดชอบปัญหาสิทธิมนุษยชน (HR) คือ
สำนักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชน ที่เจนีวา ( ชื่อเดิมคือ Centre for Human Rights) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของไทย
ในปัจจุบันประเทศไทยเป็นภาคีสนธิสัญญา ด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งสหประชาชาติถือเป็น สนธิสัญญาหลัก จำนวน 5 ฉบับได้แก่
1. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
2. อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
3. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
4. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
5. อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ
การแปล กรุณารอสักครู่..