ความเป็นมาของโครงการ :  เมื่อปี 2505 นายเปรม อักษรสว่าง สมาชิกสภาจังหว การแปล - ความเป็นมาของโครงการ :  เมื่อปี 2505 นายเปรม อักษรสว่าง สมาชิกสภาจังหว อังกฤษ วิธีการพูด

ความเป็นมาของโครงการ : เมื่อปี 250

ความเป็นมาของโครงการ :
เมื่อปี 2505 นายเปรม อักษรสว่าง สมาชิกสภาจังหวัดพัทลุงและนายกพุทธิกสมาคมบางแก้ว ได้นำสมาชิกฯ ยุวกสิกรและประชนประมาณ 500 คน ขุดลอกเหมืองส่งน้ำจากคลองตะโหมดหรือ คลองท่าเชียดเพื่อนำไปใช้ในเขตอำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง แต่ไม่ได้ผล เนื่องจากจะต้องขุดเหมืองส่งน้ำลึกประมาณ 5-6 เมตร ซึ่งเกินกำลังที่เกษตรกรจะทำได้ ต้องใช้เทคนิคและเครื่องจักรเครื่องมือใน การดำเนินงาน จึงร้องเรียนผ่านชลประทานภาคใต้ในสมัยนั้น ขอให้พิจารณาเปิด โครงการท่าเชียดขึ้น เพื่อช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกดังกล่าวชลประทานภาคใต้ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไป พิจารณาเห็นว่าลู่ทางที่จะเปิดการก่อสร้างโครงการฯ ขึ้นได้จึงส่งเจ้าหน้าที่ออกไปทำการสำรวจรายละเอียดภูมิประเทศและสถิติต่าง ๆ เพื่อนำมาวางโครงการและออกแบบ และได้ก่อสร้างโครงการเสร็จสิ้นในปี พ. ศ.2514 มีพื้นที่ทั้งหมด 121,527 ไร่ พื้นที่ชลประทาน 100,000 ไร่
วันที่ 14 กันยายน 2520 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชดำริให้กรมชลประทานพิจารณาโครการชล ประทานเพื่อช่วยเหลือการทำนาในเขตจังหวัดพัทลุง ต่อมาสำนักงานชลประทานที่ 12 (ปัจจุบันคือสำนักชลประทานที่ 16) ได้รับหนังสือจากอำเภอตะโหมด ที่ พท. 0616/256 ลงวันที่ 25 มกราคม 2532 ขอให้พิจารณาความเป็นไปได้โครงการอ่างเก็บน้ำโละหนุน ตามพระราชดำริ เพื่อช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกในเขตโครงการชลประทานท่าเชียด จำนวน 100,000 ไร่ และลดอันตรายจากอุทกภัยในเขตอำเภอตะโหมด อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ประธาน สภาตำบลตะโหมด (นายบุญชอบ เพชรหนู) ประธานสภาตำบลคลองใหญ่ (นายหวัง เสถียร) และประธานตำบลแม่ขรี (นายสวัสดิ์ มุสิกะสงค์) ได้มีหนังสือ ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2533 เรียนราชเลขาธิการ ขอพระราชทานสร้างอ่างเก็บน้ำคลองหัวช้าง โดยให้เหตุผลว่า ท้องที่ตำบลตะโหมด ตำบลคลองใหญ่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รวม 25 หมู่บ้านประชากร 21,443 คน มีการทำนาทำสวนเป็นอาชีพหลัก เนื้อที่การเกษตร 73,158 ไร่ แต่การประกอบอาชีพ ดังกล่าวไม่ได้ผลเต็มที่ เนื่องจากขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตร และเป็นคลังจ่ายน้ำให้กับโครงการชลประทานท่าเชียด
ต่อมาราชเลขาธิการ ได้มีหนังสือ ที่ รล 0005 / 10206 ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2533 เรียนอธิบดีกรมชลประทาน และหนังสือที่ รล 0005 / 10207 ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2533 เรียนผู้ว่าราชการ จังหวัดพัทลุง แจ้งให้ทราบถึงความประสงค์ของราษฎรที่ต้องการให้ก่อสร้างอ่างเก็บน้ำคลองหัว ช้าง จึงขอให้พิจารณาในเรื่องนี้ และหากมีความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะประการใด แจ้งให้สำนักราชเลขาธิการทราบด้วย
จากการประสานงานระหว่างกรมชลประทาน โดยสำนักชลประทานที่ 12 (ปัจจุบันคือ สำนักชลประทานที่ 16) กับจังหวัดพัทลุง เห็นว่ามีความเป็นไปได้ที่จะดำเนินการในเรื่องนี้ และได้ดำเนินการพิจารณา เบื้องต้นแล้วเสร็จเมื่อเดือนตุลาคม 2533
สำนัก ชลประทานที่ 12 ได้มีบันทึกที่ กษ 0337 / 350 ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2533 เรียนอธิบดีกรมชลประทาน เห็นสมควรขอพระราชทานโครงการเป็นโครงการพระราชดำริ
กรมชลประทานได้มีหนังสือที่ กษ 0301 / 1825 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2534 เรียนราชเลขาธิการ เพื่อนำความกราบบังคมทูลพระกรุณารับเป็นโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ
สำนักราชเลขาธิการ ได้มีหนังสือที่ รล 0005 / 5226 ลงวันที่ 18 เมษายน 2534 และหนังสือที่ รล 0005 / 5227 ลงวันที่ 18 เมษายน 2534 แจ้งให้กรมชลประทานและผู้ว่าราชการจังหวัดทราบ ตามลำดับ ว่าความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯรับเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
กองวางโครงการ ได้ดำเนินการศึกษาและรายงานโครงการเสร็จเรียบร้อยเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2540 ซึ่งต่อมาโครงการชลประทานพัทลุง ได้มีบันทึกที่ กษ 0337.02/686 ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2540 เรียน ผสก.ผชป.12 (ปัจจุบัน ผส.ปช.16) เพื่อโปรดพิจารณาขออนุมัติกรมฯ ตั้งงบประมาณก่อสร้างในปี 2541 ต่อไป




0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The history of the project: เมื่อปี 2505 นายเปรม อักษรสว่าง สมาชิกสภาจังหวัดพัทลุงและนายกพุทธิกสมาคมบางแก้ว ได้นำสมาชิกฯ ยุวกสิกรและประชนประมาณ 500 คน ขุดลอกเหมืองส่งน้ำจากคลองตะโหมดหรือ คลองท่าเชียดเพื่อนำไปใช้ในเขตอำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง แต่ไม่ได้ผล เนื่องจากจะต้องขุดเหมืองส่งน้ำลึกประมาณ 5-6 เมตร ซึ่งเกินกำลังที่เกษตรกรจะทำได้ ต้องใช้เทคนิคและเครื่องจักรเครื่องมือใน การดำเนินงาน จึงร้องเรียนผ่านชลประทานภาคใต้ในสมัยนั้น ขอให้พิจารณาเปิด โครงการท่าเชียดขึ้น เพื่อช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกดังกล่าวชลประทานภาคใต้ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไป พิจารณาเห็นว่าลู่ทางที่จะเปิดการก่อสร้างโครงการฯ ขึ้นได้จึงส่งเจ้าหน้าที่ออกไปทำการสำรวจรายละเอียดภูมิประเทศและสถิติต่าง ๆ เพื่อนำมาวางโครงการและออกแบบ และได้ก่อสร้างโครงการเสร็จสิ้นในปี พ. ศ.2514 มีพื้นที่ทั้งหมด 121,527 ไร่ พื้นที่ชลประทาน 100,000 ไร่ วันที่ 14 กันยายน 2520 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชดำริให้กรมชลประทานพิจารณาโครการชล ประทานเพื่อช่วยเหลือการทำนาในเขตจังหวัดพัทลุง ต่อมาสำนักงานชลประทานที่ 12 (ปัจจุบันคือสำนักชลประทานที่ 16) ได้รับหนังสือจากอำเภอตะโหมด ที่ พท. 0616/256 ลงวันที่ 25 มกราคม 2532 ขอให้พิจารณาความเป็นไปได้โครงการอ่างเก็บน้ำโละหนุน ตามพระราชดำริ เพื่อช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกในเขตโครงการชลประทานท่าเชียด จำนวน 100,000 ไร่ และลดอันตรายจากอุทกภัยในเขตอำเภอตะโหมด อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ประธาน สภาตำบลตะโหมด (นายบุญชอบ เพชรหนู) ประธานสภาตำบลคลองใหญ่ (นายหวัง เสถียร) และประธานตำบลแม่ขรี (นายสวัสดิ์ มุสิกะสงค์) ได้มีหนังสือ ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2533 เรียนราชเลขาธิการ ขอพระราชทานสร้างอ่างเก็บน้ำคลองหัวช้าง โดยให้เหตุผลว่า ท้องที่ตำบลตะโหมด ตำบลคลองใหญ่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รวม 25 หมู่บ้านประชากร 21,443 คน มีการทำนาทำสวนเป็นอาชีพหลัก เนื้อที่การเกษตร 73,158 ไร่ แต่การประกอบอาชีพ ดังกล่าวไม่ได้ผลเต็มที่ เนื่องจากขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตร และเป็นคลังจ่ายน้ำให้กับโครงการชลประทานท่าเชียด ต่อมาราชเลขาธิการ ได้มีหนังสือ ที่ รล 0005 / 10206 ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2533 เรียนอธิบดีกรมชลประทาน และหนังสือที่ รล 0005 / 10207 ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2533 เรียนผู้ว่าราชการ จังหวัดพัทลุง แจ้งให้ทราบถึงความประสงค์ของราษฎรที่ต้องการให้ก่อสร้างอ่างเก็บน้ำคลองหัว ช้าง จึงขอให้พิจารณาในเรื่องนี้ และหากมีความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะประการใด แจ้งให้สำนักราชเลขาธิการทราบด้วย จากการประสานงานระหว่างกรมชลประทาน โดยสำนักชลประทานที่ 12 (ปัจจุบันคือ สำนักชลประทานที่ 16) กับจังหวัดพัทลุง เห็นว่ามีความเป็นไปได้ที่จะดำเนินการในเรื่องนี้ และได้ดำเนินการพิจารณา เบื้องต้นแล้วเสร็จเมื่อเดือนตุลาคม 2533 สำนัก ชลประทานที่ 12 ได้มีบันทึกที่ กษ 0337 / 350 ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2533 เรียนอธิบดีกรมชลประทาน เห็นสมควรขอพระราชทานโครงการเป็นโครงการพระราชดำริ กรมชลประทานได้มีหนังสือที่ กษ 0301 / 1825 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2534 เรียนราชเลขาธิการ เพื่อนำความกราบบังคมทูลพระกรุณารับเป็นโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ สำนักราชเลขาธิการ ได้มีหนังสือที่ รล 0005 / 5226 ลงวันที่ 18 เมษายน 2534 และหนังสือที่ รล 0005 / 5227 ลงวันที่ 18 เมษายน 2534 แจ้งให้กรมชลประทานและผู้ว่าราชการจังหวัดทราบ ตามลำดับ ว่าความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯรับเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กองวางโครงการ ได้ดำเนินการศึกษาและรายงานโครงการเสร็จเรียบร้อยเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2540 ซึ่งต่อมาโครงการชลประทานพัทลุง ได้มีบันทึกที่ กษ 0337.02/686 ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2540 เรียน ผสก.ผชป.12 (ปัจจุบัน ผส.ปช.16) เพื่อโปรดพิจารณาขออนุมัติกรมฯ ตั้งงบประมาณก่อสร้างในปี 2541 ต่อไป




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นมาของโครงการ :
เมื่อปี 2505 นายเปรม อักษรสว่าง สมาชิกสภาจังหวัดพัทลุงและนายกพุทธิกสมาคมบางแก้ว ได้นำสมาชิกฯ ยุวกสิกรและประชนประมาณ 500 คน ขุดลอกเหมืองส่งน้ำจากคลองตะโหมดหรือ คลองท่าเชียดเพื่อนำไปใช้ในเขตอำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง แต่ไม่ได้ผล เนื่องจากจะต้องขุดเหมืองส่งน้ำลึกประมาณ 5-6 เมตร ซึ่งเกินกำลังที่เกษตรกรจะทำได้ ต้องใช้เทคนิคและเครื่องจักรเครื่องมือใน การดำเนินงาน จึงร้องเรียนผ่านชลประทานภาคใต้ในสมัยนั้น ขอให้พิจารณาเปิด โครงการท่าเชียดขึ้น เพื่อช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกดังกล่าวชลประทานภาคใต้ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไป พิจารณาเห็นว่าลู่ทางที่จะเปิดการก่อสร้างโครงการฯ ขึ้นได้จึงส่งเจ้าหน้าที่ออกไปทำการสำรวจรายละเอียดภูมิประเทศและสถิติต่าง ๆ เพื่อนำมาวางโครงการและออกแบบ และได้ก่อสร้างโครงการเสร็จสิ้นในปี พ. ศ.2514 มีพื้นที่ทั้งหมด 121,527 ไร่ พื้นที่ชลประทาน 100,000 ไร่
วันที่ 14 กันยายน 2520 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชดำริให้กรมชลประทานพิจารณาโครการชล ประทานเพื่อช่วยเหลือการทำนาในเขตจังหวัดพัทลุง ต่อมาสำนักงานชลประทานที่ 12 (ปัจจุบันคือสำนักชลประทานที่ 16) ได้รับหนังสือจากอำเภอตะโหมด ที่ พท. 0616/256 ลงวันที่ 25 มกราคม 2532 ขอให้พิจารณาความเป็นไปได้โครงการอ่างเก็บน้ำโละหนุน ตามพระราชดำริ เพื่อช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกในเขตโครงการชลประทานท่าเชียด จำนวน 100,000 ไร่ และลดอันตรายจากอุทกภัยในเขตอำเภอตะโหมด อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ประธาน สภาตำบลตะโหมด (นายบุญชอบ เพชรหนู) ประธานสภาตำบลคลองใหญ่ (นายหวัง เสถียร) และประธานตำบลแม่ขรี (นายสวัสดิ์ มุสิกะสงค์) ได้มีหนังสือ ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2533 เรียนราชเลขาธิการ ขอพระราชทานสร้างอ่างเก็บน้ำคลองหัวช้าง โดยให้เหตุผลว่า ท้องที่ตำบลตะโหมด ตำบลคลองใหญ่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รวม 25 หมู่บ้านประชากร 21,443 คน มีการทำนาทำสวนเป็นอาชีพหลัก เนื้อที่การเกษตร 73,158 ไร่ แต่การประกอบอาชีพ ดังกล่าวไม่ได้ผลเต็มที่ เนื่องจากขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตร และเป็นคลังจ่ายน้ำให้กับโครงการชลประทานท่าเชียด
ต่อมาราชเลขาธิการ ได้มีหนังสือ ที่ รล 0005 / 10206 ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2533 เรียนอธิบดีกรมชลประทาน และหนังสือที่ รล 0005 / 10207 ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2533 เรียนผู้ว่าราชการ จังหวัดพัทลุง แจ้งให้ทราบถึงความประสงค์ของราษฎรที่ต้องการให้ก่อสร้างอ่างเก็บน้ำคลองหัว ช้าง จึงขอให้พิจารณาในเรื่องนี้ และหากมีความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะประการใด แจ้งให้สำนักราชเลขาธิการทราบด้วย
จากการประสานงานระหว่างกรมชลประทาน โดยสำนักชลประทานที่ 12 (ปัจจุบันคือ สำนักชลประทานที่ 16) กับจังหวัดพัทลุง เห็นว่ามีความเป็นไปได้ที่จะดำเนินการในเรื่องนี้ และได้ดำเนินการพิจารณา เบื้องต้นแล้วเสร็จเมื่อเดือนตุลาคม 2533
สำนัก ชลประทานที่ 12 ได้มีบันทึกที่ กษ 0337 / 350 ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2533 เรียนอธิบดีกรมชลประทาน เห็นสมควรขอพระราชทานโครงการเป็นโครงการพระราชดำริ
กรมชลประทานได้มีหนังสือที่ กษ 0301 / 1825 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2534 เรียนราชเลขาธิการ เพื่อนำความกราบบังคมทูลพระกรุณารับเป็นโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ
สำนักราชเลขาธิการ ได้มีหนังสือที่ รล 0005 / 5226 ลงวันที่ 18 เมษายน 2534 และหนังสือที่ รล 0005 / 5227 ลงวันที่ 18 เมษายน 2534 แจ้งให้กรมชลประทานและผู้ว่าราชการจังหวัดทราบ ตามลำดับ ว่าความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯรับเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
กองวางโครงการ ได้ดำเนินการศึกษาและรายงานโครงการเสร็จเรียบร้อยเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2540 ซึ่งต่อมาโครงการชลประทานพัทลุง ได้มีบันทึกที่ กษ 0337.02/686 ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2540 เรียน ผสก.ผชป.12 (ปัจจุบัน ผส.ปช.16) เพื่อโปรดพิจารณาขออนุมัติกรมฯ ตั้งงบประมาณก่อสร้างในปี 2541 ต่อไป




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Project background:
.Last year 2505 you Prem characters bright, members of the province and President of the association, the cognitive glass member and กฯ open verandah. People around 500 people. Dredging irrigation canal from the mining community. The canal port for use in designated married ChiaBut it didn't work, due to deep mining send about 5-6 meters. Which are beyond that farmers can. To use the technique and machine tool in operation. Therefore complaints through irrigation ภาคใต้ในส that may consider opening.In order to help the farmland irrigation Southern sent an agent. Considering that the way to open the construction project. The staff survey sent out detailed description and statistics.And construction projects completed in B.Professor 2514 has a total area of, 121 527 farm, farm irrigation 100 000
.The 14 September 2520 the king has the initiative to the Department to consider hard ารชล. Given to aid farming area in the province. Later irrigation office 12 (presently hat irrigation 16)., Pt.0616 / 256 dated January 25 2532 have considered the possibility of reservoir projects throw pillow according to the black rings to help farm land in the project area the Chia. The 100.000 Rai and reduce the danger of flooding in the area, tamot District married phatthalung
.Chairman District Council tamot (you merit like diamond I), President of the Council District Khlong Yai (Mr. Wang stable) and the district Mae Khari (Mr. D rat. The purpose). A letter dated July 6 2533 was the Royal secretary.The reason that local district Khlong Yai tambon tamot, tambon Mae Khari tamot district. In Putnam's uncle, including 25 village population, 21443, farming is the main occupation of farming area, agriculture 73 158 Rai but occupation, such is not the full effect due to the shortage of water for agriculture. And the finance supply water for irrigation project TA Chia
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: