Job descriptionEducational psychology or 1) know the psychology of human learning, we here then? It can be understood and applied to the process of learning to know the causes of human behaviour know learn? How attitudes to human knowledge skills that can be transferred through training. 2 behavioral analysis and distinguish) concepts and processes to manage the work. Ordering procedures for analysis and synthesis of learning new skills. 3.) recognize adult teaching and tutorials to teach the child tutorials. Have the ability to teach the adults to teach adults. Use those trained as a source of knowledge, rather than acting, teaching children where parents get to rely on teacher training. Not rely on each other. 4) has the ability to stimulate and pushy narration, acting as a stimulant. Arrange learning experiences and more commentary, more. 5) ใช้โสตทัศนูปกรณ์สนับสนุนได้ โดยสามารถเลือกใช้โสตทัศนูปกรณ์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (สไลด์ เครื่องฉายข้ามศีรษะ ฟลิปชาร์ท กระดานไวท์บอร์ด วีดีทัศน์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนรู้แบบโปรแกรม) 6) สอนเป็น ทั้งการสอนแบบดันและการสอนแบบดึง สามารถสอนแบบดันผลักดันข้อมูลให้ผู้เรียน (การสอนแบบบรรยาย) และการสอนแบบดึง ดึงความรู้จากผู้เรียนโดยวิธีการของโสกราตีส เลือกใช้แต่ละวิธีการให้เหมาะสม 7) ใช้กระบวนการกระตุ้น – ตอบสนอง – ข้อมูลย้อนกลับ สามารถให้ข้อมูลในลักษณะ มีปฏิสัมพันธ์ การมีส่วนร่วม ดึงให้มีการตอบสนองบ่อย ๆ วิธีการง่ายก็คือลำดับขั้นการเรียนรู้ จะเป็นห่วงโซ่แบบกระตุ้น – การตอบสนอง – ข้อมูลย้อนกลับ ได้เป็นอย่างดีทีเดียว 8) ให้หลักการแล้วยกตัวอย่างในระหว่างการสอนหรืออบรมได้ สามารถใช้อุปมาอุปมัย เปรียบเทียบมีเกร็ดความรู้ อธิบาย กรณีศึกษา และทำเป็นแบบอย่าง แสดงให้เห็นภาพ รูปแบบการให้ความรู้แบบมีชีวิตชีวา เกี่ยวข้องสัมพันธ์ ยกตัวอย่างที่สามารถจำได้แม่นยำ 9) มีทักษะในการจัดระบบความคิดเป็นขั้นตอนของผู้เรียนรู้ โดยสามารถจัดระบบความคิดสื่อเป็นไปตามลำดับได้อย่างดีที่สุด (ตามหลักเหตุผล – หลักจิตวิทยา – และเป็นไปตามลำดับขั้นตอน) ตรงกับความต้องการของผู้เรียน ความสนใจและความสามารถที่จะจดจำได้ 10) มีทักษะในการการสอนงานและการให้คำปรึกษา สามารถยอมรับความต้องการ การเรียนรู้ ค่านิยมปัญหาต่าง ๆ และสนองตอบช่วยเหลือแต่ละคนได้อย่างเหมาะสม ให้คำปรึกษา ใช้ระบบเพื่อนช่วยเพื่อน เป็นคู่ ๆ หรือมอบหมายงานพิเศษให้ทำ 11) สามารถจัดสิ่งอำนวยความสะดวก สามารถจัดสภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ ใช้สิ่งอำนวยความสะดวกที่เหมาะสม และดูแลความสะดวกทางกายภาพตอบสนองการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกอบรม 12) สามารถที่จะบริหารจัดการกับการบันทึกต่าง ๆ สามารถเก็บรักษาบันทึกความก้าวหน้าของผู้เรียน รวมทั้งการปฏิบัติการ จัดเป็นแฟ้มอย่างเป็นระบบตลอดทั้งวัสดุการเรียนรู้ต่าง ๆ (แบบฝึกหัด แบบทดสอบ สถานการณ์จำลอง ขอบข่ายวัตถุประสงค์การเรียนรู้ต่าง ๆ) 13) สามารถวิจัยเพื่อความรู้ที่ทันสมัย สามารถติดตามเพื่อความต้องการใหม่ ๆ และโอกาสสำหรับผู้เรียนและการเปลี่ยนแปลงองค์การ โดยการวิจัยหาข้อมูลใหม่ ๆ และนำผลมาใช้เป็นแบบฝึกปฏิบัติ ในชั้นเรียน
14) ตระหนักสำนึกและรักองค์การ ทั้งองค์การของตนเอง และองค์การของลูกค้าที่เชิญไปเป็นวิทยากร โดยสามารถตีความและแปรเปลี่ยนเนื้อหาวิชาให้ตรงกับกลยุทธ์ บรรทัดฐาน โครงสร้าง วัฒนธรรม เครือข่ายอำนาจ (การเมือง) และเป้าหมายขององค์การ เพื่อมุ่งให้บรรลุภารกิจขององค์การ
15) สามารถกำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม สามารถเตรียมการและสื่อความให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจวัตถุประสงค์ของแต่ละรายวิชาได้อย่างชัดเจน เชิงพฤติกรรม (มุ่งผลลัพธ์) ผลลัพธ์ที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับจากการสังเกต หรือวิธีวัดผลด้วยวิธีการต่าง ๆ
16) มีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ สามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องช่วยสอนในการดำเนินการสอนให้ผู้เรียนเกิดความก้าวหน้าทั้งปัจเจกบุคคลและกลุ่ม รวมทั้งการดำเนินการการปฏิบัติการ ของกลุ่มก้าวหน้า
17) มีทักษะการเขียน โดยสามารถเขียนเอกสารประกอบรายวิชา แบบทดสอบง่าย ๆ รายงานโปรแกรมและโครงการ บทคัดย่อ ใช้ภาษาจูงใจ ตอบสนองความต้องการของผู้อ่าน
18) มีทักษะการนำเสนอด้วยวัจนะภาษา คือ ภาษาที่ไม่ใช่คำพูดว่างั้นเถอะ โดยสามารถพูดได้อย่างน่าฟังสร้างความสนใจ ใช้ภาษาดี ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ชัดเจน สร้างบทสนทนา บทพูด ใช้ภาษามีสีสัน อารมณ์ขัน ใช้ภาษาท่าทางประกอบได้อย่างเหมาะสม
19) มีทักษะการตั้งคำถาม สามารถใช้รูปแบบของคำถามต่าง ๆ ได้อย่างดี (ทางตรง ทางอ้อม แบบประเมินตนเอง สะท้อนความคิด, วาทศิลป์) เพื่อดึงข้อเท็จจริง และความรู้สึกได้อย่างง่ายดาย
20) สามารถในการทดสอบตามเกณฑ์ สามารถสร้างและใช้แบบทดสอบเพื่อวัดความก้าวหน้าของผู้เรียน เพื่อวินิจฉัยพฤติกรรม วัดผลแต่ละคนตามความเหมาะสม
21) มีทักษะการฟังและการให้ข้อมูลย้อนกลับ สามารถในการฟังได้อย่างมีประสิทธิผล วิเคราะห์วัตถุประสงค์ ความหมาย คำพูดและเนื้อหาของผู้พูด ย้ำและให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจน
22) มีทักษะการมอบหมายงาน สามารถมอบหมายงานหรือมอบความรับผิดชอบ อำนาจหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมสำหรับผู้เรียนและคณะเพื่อสนับสนุนการทำงานที่มีประสิทธิผลของแต่ละคน
ต้องการขององค์การ และผู้เข้ารับการฝึกอบรมเพื่อกำหนดกรอบเวลาของรายวิชา
24) เป็นแบบอย่างของผู้มีบารมี สามารถทำให้ผู้เรียนเอาแบบอย่างซึ่งผู้เรียนจะเคารพ นับถือ และต้องการแข่งดี (เรียนรู้จากพฤติกรรมที่เป็นแบบอย่างและจากกระบวนการเรียนรู้)
25) มีทักษะการออกแบบการสอน สามารถพัฒนาวิธีการสอนสื่อ และวัสดุการตามหลักการการออกแบบและระบบการสอนที่กำหนดเพื่อให้เนื้อหาวิชาทันสมัยและมีผลกระทบต่อผู้เรียนสูง
26) นิยมในการเครือข่ายการติดต่อ สามารถรักษาสัมพันธ์การติดต่อกับผู้สอนคนอื่น ๆ และแหล่งความรู้ในองค์การ (เครือข่ายที่มีอิทธิพล มีเวลา มีความสามารถพิเศษ และมีความทันสมัย)
27) รู้และเข้าใจโมเดลการเรียนรู้ 3 ขั้นตอน โดยสามารถทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จาก 3 ขั้นตอน (บอก –
การแปล กรุณารอสักครู่..