ข้อมูลทั่วไป  ชนเผ่ามอแกน ชนเผ่ามอแกน เป็นชาวเลกลุ่มหนึ่ง ที่รู้จักกัน การแปล - ข้อมูลทั่วไป  ชนเผ่ามอแกน ชนเผ่ามอแกน เป็นชาวเลกลุ่มหนึ่ง ที่รู้จักกัน อังกฤษ วิธีการพูด

ข้อมูลทั่วไป ชนเผ่ามอแกน ชนเผ่ามอแ

ข้อมูลทั่วไป



ชนเผ่ามอแกน ชนเผ่ามอแกน เป็นชาวเลกลุ่มหนึ่ง ที่รู้จักกันในนามยิปซีทะเล สืบเชื้อสายมาจากโปโตมาเลซึ่งร่อนเร่อยู่ในทะเลอันดามัน มากว่า 100 ปี อาศัยอยู่ตามหมู่เกาะ และชายฝั่งทะเลตั้งแต่หมู่เกาะมะริดในเมียร์ม่า ลงไปทางใต้และทางตะวันออกในหมู่เกาะของทะเลซูลู ในประเทศฟิลิปินส์ รวมถึงชายฝั่งของประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซียด้วย ในหมู่เกาะมะริดในเมียนมาร์ยังมีประชากรมอแกนอีกนับพัน พม่าเรียกมอแกนว่า ซลัง เซลัง หรือ ซาเลา (Selon) สันนิษฐานว่า คำนี้คงจะมาจากคำว่าฉลางหรือถลาง ซึ่งเป็นชื่อโบราณของภูเก็ต (Junk Selon) ซึ่งเป็นบริเวณที่มีชาวเลมาชุมนุมกันอยู่มากในสมัยก่อนอยู่ในทะเล ซึ่งเป็นตำนานเรื่องเล่าของชาวมอแกน

ชนเผ่ามอแกน เป็นกลุ่มชาติพันธ์ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามเกาะในบริเวณภาคใต้ของไทย มีรูปแบบของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ รวมทั้งค่านิยมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะเป็นของตนเอง ใช้ชีวิตเดินทางเคลื่อนย้ายถิ่น ทำมาหากินอยู่ในบริเวณเขตทะเลอันดามัน ชีวิตส่วนใหญ่ของชาวมอแกน อาศัยอยู่บนเรือที่พวกเขาเรียกว่า “กำบาง” หากินกับทะเล งมหอย ตกปลา จับปูและสัตว์ทะเลต่างๆ อาหารหลัก คือเผือกมัน มีวิถีชีวิตที่สอดคล้องกับฤดูกาล จากอิทธิพลของลมมรสุมในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ (เดือนพฤษภาคม-เดือนพฤศจิกายน) ซึ่งมีคลื่นลมจัด ชาวมอแกนจะอพยพขึ้นมาสร้างบ้านเรือนตามเกาะ หรือบริเวณชายหาดที่มีอ่าวกำบังคลื่นลมเพื่อหลบลมพายุ

ภาษา

ภาษมอแกน หรือ ภาษามอเก็น ภาษาเมาเก็น ภาษาบาซิง หรือ เซลุง, ซาลอง, ซะโลน และชาวเกาะ เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเชียน ภาษามาลาโย-โพโลนีเชียน สาขามาเลย์อิกซึ่งพูดกันทางใต้ของประเทศพม่าลงมา ตั้งแต่เมืองมะริดลงมาทางใต้ พบมากในบริเวณเกาะของพม่าภาคใต้ และคาบสมุทรเมกุย ไปจนถึงจังหวัดระนอง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดกระบี่ ของประเทศไทย ใกล้เคียงกับภาษามอเกลน และมีความสัมพันธ์กับ ภาษาอูรักลาโอ้ย เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม จากตระกูลภาษาออสโตรนีเชียนที่มอแกนใช้ มอแกนมีภาษาพูดเป็นของตัวเองตั้งแต่บรรพบุรุษแล้ว ไม่มีภาษาเขียนเป็นของตัวเอง ส่วนใหญ่จะใช้ภาษาเขียนเป็นภาษาไทย ภาษายาวี พม่า และมาเลย์ หรือการบันทึกโดยตัวอักษร ดังนั้นประวัติความเป็นมาตำนาน นิทาน ความรู้พื้นบ้านในด้านต่างๆ ของชาวเลจึงมีการบันทึกไว้ในระยะหลังๆ ชาวเลเริ่มชีมชับวัฒนธรรมและภาษาไทยมากขึ้น ส่วนวัฒนธรรมตั้งเดิมก็ถูกละเลยและค่อยๆ สูญหายไป เด็กชาวเลอูรักลาโว้ยรุ่นใหม่ในชุมชนราไวย์ จังหวัดภูเก็ดหันมาใช้ภาษาไทยปักษ์ใต้กันแทบทั้งนั้น แม้แต่การสื่อสารพูดคุยกันในครอบครัว ก็ใช้ภาษาไทยเป็นหลัก

วิถีชีวิต และลักษณะบ้านเรือน

วิถีชีวิต
ชาวมอแกนยังคงหากินกับทะเลเหมือนเช่นบรรพบุรุษ และเนื่องจากชาวมอแกนเป็นคนกลุ่มน้อย เป็นคนไม่มีสัญชาติ และไม่มีเชื้อชาติ ชาวมอแกนไม่มีความรู้ ไม่ได้รับการศึกษาทำให้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ชาวมอแกนยังคงเป็นปัญหาชนกลุ่ม น้อยของประเทศไทย และเพื่อให้ชาวมอแกนมีความรู้ สามารถติดต่อสื่อสารกับคนไทยได้ อย่างถูกต้องและเข้าใจ วิถีชีวิตของชาวมอแกน อาศัยการนับเวลาจะสังเกตจากดวงจันทร์

ลักษณะบ้านเรือน
บ้านเรือนของชาวมอแกน ยังคงอนุรักษ์ความเป็นดั้งเดิมคือมุงด้วยหลังคาจาก พออาศัยอยู่ได้ไม่เดือดร้อน อยู่อย่างพอเพียงด้วยการหาหอย หาปลา นำมาทำเป็นอาหาร เรือ หรือ “ก่าบาง” เป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตของมอแกน เป็นทั้งพาหนะ เครื่องมือทำมาหากิน บ้านพักอาศัย และบ่อยครั้งเป็นที่เกิดและที่ตายของมอแกน ก่าบางมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือมี “ง่าม” หรือรอยหยักเว้าที่หัวเรือและท้ายเรือ ประโยชน์ใช้สอยของง่ามที่หัวและท้ายเรือก็คือเป็นที่ปีนและก้าวขึ้นลงเรือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมอแกนลงทะเลเพื่อว่ายน้ำและดำน้ำ การขึ้นเรือทางข้างเรือที่มีกราบทำด้วยไม้ระกำเป็นไปได้ยากเพราะไม้ระกำที่ เสียบต่อกันด้วยซี่ไม้ไผ่นั้นไม่แข็งแรงพอที่จะรับน้ำหนักคนโหนขึ้น ง่ามมีประโยชน์สำหรับเป็นที่จับยึดเวลาลากเรือขึ้นและลงหาด และนักมานุษยวิทยายังให้ความหมาย ของง่ามเรือในเชิงสัญลักษณ์ซึ่งสะท้อนคุณลักษณะของมนุษย์ คือ มีปากและมีทวาร เรือเป็นเสมือนมนุษย์คนหนึ่ง คำเรียกส่วนต่างๆ ของเรือ ก็มาจากคำเรียกอวัยวะในร่างการของคน เช่น หละแก้ (ท้อง) ตะบิน (แก้ม) ตู่โก๊ะ (คอ) บ่าฮ้อย (ไหล่) ตะบิ้ง (ซี่โครง) เป็นต้น แต่ในปัจจุบันชาวเลก็เริ่มสร้างบ้านเรือนเลียนแบบคนบนฝั่ง เป็นแบบถาวร โดยใช้ไม้จากป่าชายเลน เช่นไม้โกงกาง หลังคามุงจาก กั้นฝาด้วยจากหรือไม้ไผ่ การดำรงชีพของชาวเลหลัก ๆ ยังคงพึ่งพาการ “จับปลา” ทำประมงน้ำตื้น และที่เสริมเข้ามาในยุคหลัง ๆ ก็คือ “รับจ้างนายทุน” งมสิ่งของในทะเล เช่น เปลือกหอยแปลก ๆ หรือรับจ้างทั่วไป ที่เห็นกันอยู่ไม่ใช่เรือไม้ระกำ (ไม้ระกำมีลักษณะเป็นท่อนเล็กเรียวแบบต้นอ้อย) สมัยนี้มอแกนใช้ไม้กระดานทำเรือกันหมดแล้ว เรือไม้ระกำเหลือเพียงไม่กี่ลำในพม่า มอแกนส่วนใหญ่เลิกใช้ไม้ระกำเสริมกราบเรือแล้ว เพราะไม้ระกำมีอายุใช้งานเพียง 3-6 เดือนเท่านั้น มอแกนหันมาใช้ไม้กระดานเนื่องจากมีความคงทน ใช้ได้นานหลายปี ส่วนมากเรือนั้นใช้ได้นานหลายสิบปี และบางทียังสืบทอดมาถึงรุ่นลูกหลานด้วย หลังจากที่มอแกนหันมาใช้ไม้กระดาน ใบเรือก็หมดประโยชน์ใช้สอยไปด้วย เนื่องจากเรือไม้กระดานมีน้ำหนักมาก ต้องขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ แม้ว่าจะเริ่มซึมซับค่านิยมทางวัตถุมากขึ้นเรื่อยๆ

วัฒนธรรมประเพณี

ในด้านของสังคมการครองเรือน ชายหญิงมอแกนมักจะแต่งงานอยู่กินตั้งแต่อายุยังน้อย ยึดประเพณีผัวเดียวเมียเดียว จะไม่เปลี่ยนคู่ครองนอกจากสามีหรืออภรรยาเสียชีวิตลง หรือมีปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงจึงแยกจากกัน ลูกๆ ถือเป็นสิ่งสำคัญในครอบครัว มอแกนแต่ละครอบครัวจะมีลูกประมาณ 2-5 คน เนื่องจากความห่างไกลจากการบริการ พื้นฐานสาธารณสุขทำให้จำนวนประชากรมอแกนค่อนข้างจะคงที่

ประเพณีการแต่งงาน

หนุ่มสาวชาวมอแกนเมือมีความรักต่อกันก็จะมีการจีบกันที่เหมือนๆ กับหนุ่มสาวทั่วไป โดยการที่ฝ่ายชายจะเป็นฝ่ายที่แสดงความสามารถ หรือเรียกร้องความสนใจให้กับฝ่ายหญิงเพื่อดึงดูดให้ฝ่ายหญิงสนใจตัวเอง สำหรับการแต่งงานของชาวมอแกนจะถือว่าไม่มีเลยก็ว่าได้เพราะการแต่งงานของเขา ไม่มีอะไรมากมายก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
General information Tribe mokaen Mokaen is an ethnic group of people known as the leg extension sea-Gypsy. Descended from the Pro-male, which is in the Andaman Sea, roe landed more than 100 years of living on the Islands and the coastal archipelago in Myeik, Burma since a premier hotel. Down to the South and East of the Islands in the Sulu sea. In the Philippines, including the coast of Malaysia and Indonesia with the country. In the archipelago in Myeik, Burma Myanmar, there are also thousands of other mokaen population. Burma's case, or that the semiconductors salang mokaen Lao (Selon) assumes that this word is derived from the word, which is the ancient name chalang or Phuket, Thalang (Selon Junk), a fishermen come to congregate is a lot in the past is in the sea, which is a myth is a story of mokaen. ชนเผ่ามอแกน เป็นกลุ่มชาติพันธ์ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามเกาะในบริเวณภาคใต้ของไทย มีรูปแบบของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ รวมทั้งค่านิยมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะเป็นของตนเอง ใช้ชีวิตเดินทางเคลื่อนย้ายถิ่น ทำมาหากินอยู่ในบริเวณเขตทะเลอันดามัน ชีวิตส่วนใหญ่ของชาวมอแกน อาศัยอยู่บนเรือที่พวกเขาเรียกว่า “กำบาง” หากินกับทะเล งมหอย ตกปลา จับปูและสัตว์ทะเลต่างๆ อาหารหลัก คือเผือกมัน มีวิถีชีวิตที่สอดคล้องกับฤดูกาล จากอิทธิพลของลมมรสุมในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ (เดือนพฤษภาคม-เดือนพฤศจิกายน) ซึ่งมีคลื่นลมจัด ชาวมอแกนจะอพยพขึ้นมาสร้างบ้านเรือนตามเกาะ หรือบริเวณชายหาดที่มีอ่าวกำบังคลื่นลมเพื่อหลบลมพายุ Languageภาษมอแกน หรือ ภาษามอเก็น ภาษาเมาเก็น ภาษาบาซิง หรือ เซลุง, ซาลอง, ซะโลน และชาวเกาะ เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเชียน ภาษามาลาโย-โพโลนีเชียน สาขามาเลย์อิกซึ่งพูดกันทางใต้ของประเทศพม่าลงมา ตั้งแต่เมืองมะริดลงมาทางใต้ พบมากในบริเวณเกาะของพม่าภาคใต้ และคาบสมุทรเมกุย ไปจนถึงจังหวัดระนอง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดกระบี่ ของประเทศไทย ใกล้เคียงกับภาษามอเกลน และมีความสัมพันธ์กับ ภาษาอูรักลาโอ้ย เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม จากตระกูลภาษาออสโตรนีเชียนที่มอแกนใช้ มอแกนมีภาษาพูดเป็นของตัวเองตั้งแต่บรรพบุรุษแล้ว ไม่มีภาษาเขียนเป็นของตัวเอง ส่วนใหญ่จะใช้ภาษาเขียนเป็นภาษาไทย ภาษายาวี พม่า และมาเลย์ หรือการบันทึกโดยตัวอักษร ดังนั้นประวัติความเป็นมาตำนาน นิทาน ความรู้พื้นบ้านในด้านต่างๆ ของชาวเลจึงมีการบันทึกไว้ในระยะหลังๆ ชาวเลเริ่มชีมชับวัฒนธรรมและภาษาไทยมากขึ้น ส่วนวัฒนธรรมตั้งเดิมก็ถูกละเลยและค่อยๆ สูญหายไป เด็กชาวเลอูรักลาโว้ยรุ่นใหม่ในชุมชนราไวย์ จังหวัดภูเก็ดหันมาใช้ภาษาไทยปักษ์ใต้กันแทบทั้งนั้น แม้แต่การสื่อสารพูดคุยกันในครอบครัว ก็ใช้ภาษาไทยเป็นหลัก Lifestyle and house style.Lifestyle.Mokaen people are still living on the sea, just as their ancestors, and because of a few team mokaen people do not have citizenship and is of no nation. Mokaen people do not have knowledge. Studies have not been done to both children and adults of mokaen continues to be a problem of the country's minority Chinese and Thai mokaen has the knowledge to communicate with Thai people properly and understand. The lifestyle of the people of mokaen live, point-in-time count will be observed from the moon. House style บ้านเรือนของชาวมอแกน ยังคงอนุรักษ์ความเป็นดั้งเดิมคือมุงด้วยหลังคาจาก พออาศัยอยู่ได้ไม่เดือดร้อน อยู่อย่างพอเพียงด้วยการหาหอย หาปลา นำมาทำเป็นอาหาร เรือ หรือ “ก่าบาง” เป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตของมอแกน เป็นทั้งพาหนะ เครื่องมือทำมาหากิน บ้านพักอาศัย และบ่อยครั้งเป็นที่เกิดและที่ตายของมอแกน ก่าบางมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือมี “ง่าม” หรือรอยหยักเว้าที่หัวเรือและท้ายเรือ ประโยชน์ใช้สอยของง่ามที่หัวและท้ายเรือก็คือเป็นที่ปีนและก้าวขึ้นลงเรือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมอแกนลงทะเลเพื่อว่ายน้ำและดำน้ำ การขึ้นเรือทางข้างเรือที่มีกราบทำด้วยไม้ระกำเป็นไปได้ยากเพราะไม้ระกำที่ เสียบต่อกันด้วยซี่ไม้ไผ่นั้นไม่แข็งแรงพอที่จะรับน้ำหนักคนโหนขึ้น ง่ามมีประโยชน์สำหรับเป็นที่จับยึดเวลาลากเรือขึ้นและลงหาด และนักมานุษยวิทยายังให้ความหมาย ของง่ามเรือในเชิงสัญลักษณ์ซึ่งสะท้อนคุณลักษณะของมนุษย์ คือ มีปากและมีทวาร เรือเป็นเสมือนมนุษย์คนหนึ่ง คำเรียกส่วนต่างๆ ของเรือ ก็มาจากคำเรียกอวัยวะในร่างการของคน เช่น หละแก้ (ท้อง) ตะบิน (แก้ม) ตู่โก๊ะ (คอ) บ่าฮ้อย (ไหล่) ตะบิ้ง (ซี่โครง) เป็นต้น แต่ในปัจจุบันชาวเลก็เริ่มสร้างบ้านเรือนเลียนแบบคนบนฝั่ง เป็นแบบถาวร โดยใช้ไม้จากป่าชายเลน เช่นไม้โกงกาง หลังคามุงจาก กั้นฝาด้วยจากหรือไม้ไผ่ การดำรงชีพของชาวเลหลัก ๆ ยังคงพึ่งพาการ “จับปลา” ทำประมงน้ำตื้น และที่เสริมเข้ามาในยุคหลัง ๆ ก็คือ “รับจ้างนายทุน” งมสิ่งของในทะเล เช่น เปลือกหอยแปลก ๆ หรือรับจ้างทั่วไป ที่เห็นกันอยู่ไม่ใช่เรือไม้ระกำ (ไม้ระกำมีลักษณะเป็นท่อนเล็กเรียวแบบต้นอ้อย) สมัยนี้มอแกนใช้ไม้กระดานทำเรือกันหมดแล้ว เรือไม้ระกำเหลือเพียงไม่กี่ลำในพม่า มอแกนส่วนใหญ่เลิกใช้ไม้ระกำเสริมกราบเรือแล้ว เพราะไม้ระกำมีอายุใช้งานเพียง 3-6 เดือนเท่านั้น มอแกนหันมาใช้ไม้กระดานเนื่องจากมีความคงทน ใช้ได้นานหลายปี ส่วนมากเรือนั้นใช้ได้นานหลายสิบปี และบางทียังสืบทอดมาถึงรุ่นลูกหลานด้วย หลังจากที่มอแกนหันมาใช้ไม้กระดาน ใบเรือก็หมดประโยชน์ใช้สอยไปด้วย เนื่องจากเรือไม้กระดานมีน้ำหนักมาก ต้องขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ แม้ว่าจะเริ่มซึมซับค่านิยมทางวัตถุมากขึ้นเรื่อยๆ Cultural tradition In the social aspect of the householder Men's mokaen women tend to marry is to eat based on one single wife husband tradition. Will not change, there are also be wives or opronya died or had serious conflict issue it separately. Your children are important in family mokaen each family will have a ball approximately 2-5 people, because away from the service. The basis for public health causes population mokaen is quite constant. Wedding traditions Young people love each other when mokaen, it will be the same young who flirt with the common man will be showing the capabilities or call attention to a woman to attract women interested in themselves. For wedding mokaen assumes that there are no simple matter because his marriage. There is nothing much to lift.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
General information



.The tribe Morgan Morgan is a gypsy tribe group one, also known as the sea gypsies Descended from Poteau come, which live in the Andaman Sea. So much that 100 years living on the islands.To the South and east of the islands in the Sulu Sea. In the Philippines, including the coast of Malaysia and Indonesia. The islands of Myanmar's population Marid Morgan thousands of Myanmar called Morgan that Asellus, selang or(Selon) assume that it will be from the word CHALANGE or Thalang Which is the name of ancient Phuket (Junk Selon) which is the fishermen to gather in the past in the sea. Mythological tales of the Morgan
.
.The tribe Morgan Group National Association, settled in the island in the southern sector is the form of the lifestyle and customs culture. Beliefs and values with the specific identity of their own.Make a living in the area of the Andaman Sea. Life most of the Morgan. Living on a boat, they called "were some" living with the sea, fishing, fishing, crabbing and marine animals. The staple food is white. It has a lifestyle that is consistent with the season.(May to November), which are wind and wave. The Morgan will migrate up to build houses on the island. Or the beach with shelter Bay wind wave to dodge the storm
.


, language or language (Morgan gasket gasket language drunk language bacillus, or se, uncle, salon
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: