แม่บทบัญชีข้อสมมติการจัดทำงบการเงิน1.เกณฑ์คงค้าง (accrual basic) รายกา การแปล - แม่บทบัญชีข้อสมมติการจัดทำงบการเงิน1.เกณฑ์คงค้าง (accrual basic) รายกา ญี่ปุ่น วิธีการพูด

แม่บทบัญชีข้อสมมติการจัดทำงบการเงิน

แม่บทบัญชี

ข้อสมมติการจัดทำงบการเงิน
1.เกณฑ์คงค้าง (accrual basic) รายการและเหตุการณ์ทางบัญชีจะรับรู้เมื่อเกิดขึ้น (earned) มิใช่เมื่อมีการรับหรือจ่ายเงินสด (realized) หรือได้รับหรือจ่ายสิ่งซึ่งสามารถเปลี่ยนเป็นเงินสมดได้ในอนาคต (realizable) นอกจากนี้รายการต่าง ๆ จะบันทึกและแสดงในงบการเงินตามงวดที่เกิดรายการ
ตัวอย่าง
การขายสินค้าเป็นเงินสด หรือ การขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ รายได้เกิดขึ้นแล้วหากมีการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นสาระสำคัญของความเป็นเจ้าของสินค้าให้กับผู้ซื้อแล้ว ดังนั้นการรับรู้เป็นรายได้ของงวด โดยยึดเรื่องการเกิดขึ้นมิใช่การรับเงิน เป็นเกณฑ์การรับรู้รายได้ แต่ถ้าหากลูกค้าจ่ายเงินล่วงหน้าค่าสินค้า รายได้ยังไม่เกิดขึ้น เพราะยังไม่มีการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นสาระสำคัญของความเป็นเจ้าของสินค้าให้กับผู้ซื้อ กรณีนี้จะรับรู้เป็นรายได้รับล่วงหน้า หรือหนี้สิน
การจ่ายค่าใช้จ่ายเป็นเงินสด หรือค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นแล้ว หากได้รับการบริการแล้วในงวดนั้น ถึงแม้จะได้จ่ายเป็นเงินสด หรือยังไม่จ่ายเงินก็ตาม ถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดนั้น โดยยึดการเกิดขึ้นมิใช่การจ่ายเงิน แต่ถ้าหากเป็นค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ถือว่าค่าใช้จ่ายยังไม่เกิดขึ้น เพราะยังไม่ได้รับบริการในงวดนั้นแต่มีการจ่ายเงินแล้ว กรณีนี้จะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า หรือสินทรัพย์
การใช้เกณฑ์คงค้างในการจัดทำงบการเงิน จะทำให้ข้อมูลที่แสดงในงบการเงินสะท้อนฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของกิจการได้ถูกต้องกว่าเกณฑ์เงินสด (cash basic) เนื่องจากงบการเงินควรแสดงข้อมูลในอดีตที่เกิดขึ้นแล้ว มิใช่แสดงการรับหรือจ่ายเงินสด หรือรายการเทียบเท่าเงินสด
2.การดำเนินงานต่อเนื่อง (going concern) กิจการไม่มีเจตนาหรือความจำเป็นที่จะเลิกกิจการ หรือลดขนาดของการดำเนินงานอย่างมีนัยสำคัญ ข้อสมมตินี้มีความสำคัญมากถ้าหากไม่มีข้อสมมตินี้ การกำหนดงวดบัญชี หรือรอบระยะเวลาบัญชีจะยุ่งยากมาก เพราะไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่ากิจการจะเลิกเมื่อไร นอกจากนี้การวัดมูลค่าของสินทรัพย์ ไม่อาจใช้ราคาทุนเดิม หรือราคาอื่นที่เหมาะสม แต่ต้องใช้ราคาบังคับขายหากคาดว่าจะมีการเลิกกิจการในอนาคตอันใกล้ นอกจากนี้จะมีปัญหาเรื่องการคิดค่าเสื่อมราคา หรือค่าตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ที่เสื่อมสภาพ เพราะไม่สามารถประมาณอายุการใช้งานของสินทรัพย์ได้ และไม่สามารถแยกประเภทรายการสินทรัพย์ และหนี้สินเป็นรายการหมุนเวียน และไม่หมุนเวียนได้ ตลอดจนไม่สามารถรับรู้รายจ่ายฝ่ายทุนเป็นสินทรัพย์แล้วตัดจำหน่ายตามระยะเวลาที่เหมาะสม
แต่ถ้ากิจการมีเจตนาหรือความจำเป็นที่ไม่สามารถใช้เกณฑ์การดำเนินงานต่อเนื่องต่อไปได้ เช่นกิจการกำลังอยู่ในสถานะมีหนี้สินล้นพ้นตัว หรือถูกฟ้องล้มละลาย กิจการอาจใช้เกณฑ์อื่นในการจัดทำงบการเงิน แต่ต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้กิจการไม่สามารถใช้เกณฑ์การดำเนินงานต่อเนื่อง รวมทั้งเปิดเผยเกณฑ์บัญชีอื่นที่ใช้ในการจัดทำงบการเงินด้วย
ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน
ลักษณะเชิงคุณภาพ หมายถึง คุณสมบัติที่ทำให้ข้อมูลในงบการเงินมีประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ่งประกอบด้วยลักษณะต่อไปนี้
1.ความเข้าใจได้ (understandability) ข้อมูลในงบการเงินที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงินเพื่อการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจควรเป็นข้อมูลที่ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจได้โดยตั้งอยู่บนสมมติฐานว่าผู้ใช้งบการเงินมีความรู้ ตามควรเกี่ยวกับธุรกิจกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและการบัญชี รวมทั้งมีความตั้งใจตามควรที่จะศึกษา ดังนั้นการจัดทำงบการเงินถึงแม้ว่าข้อมูลจะซับซ้อน ถ้าข้อมูลนั้นเกี่ยวข้องกันการตัดสินใจ กิจการต้องแสดงข้อมูลไว้ในงบการเงินเสมอ โดยต้องถือเสมือนว่าผู้ใช้งบการเงินสามารถทำความเข้าใจในข้อมูลที่แสดงไว้ได้
2.ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (relevance) ข้อมูลที่มีประโยชน์ต้องเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของผู้ใช้งบการเงิน ข้อมูลจะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจได้ก็ต่อเมื่อข้อมูลนั้นช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต รวมทั้งช่วยยืนยันหรือชี้ข้อผิดพลาดของผลประเมินที่ผ่านมาของผู้ใช้งบการเงินได้ การที่จะระบุว่าข้อมูลเช่นไรจึงมีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจควรพิจารณาทั้งจาก วิธีการนำเสนอ และความมีนัยสำคัญ ดังนี้
วิธีการนำเสนอข้อมูล
2.1ข้อมูลในงบการเงินต้องแสดงรายการและตัวเลขอย่างน้อย 2 งวดเปรียบเทียบกัน เพื่อสามารถคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต สามารถประเมินเหตุการณ์ทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตได้ดียิ่งขึ้น
2.2 ข้อมูลในงบการเงินต้องมีการจัดประเภท ให้เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ เช่น ในงบดุลถ้าไม่มีการแบ่งสินทรัพย์ และหนี้สิน เป็นหมุนเวียนและไม่หมุนเวียน ก็ไม่สามารถประเมินสภาพคล่องโครงสร้างทางการเงิน และความสามารถในการชำระหนี้ได้
2.3 ต้องมีการแยกรายการพิเศษหรือรายการไม่ปกติออกจากรายการปกติ
2.4 ต้องนำเสนอข้อมูลให้ทันเวลาต่อการตัดสินใจ เพราะถ้านำเสนอข้อมูลล่าช้า ข้อมูลนั้นก็ไม่มีประโยชน์หรือไม่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
ความมีนัยสำคัญ
ความมีนัยสำคัญ จะขึ้นอยู่กับขนาดของรายการหรือขนาดของความผิดพลาดที่เกิดขึ้นภายใต้สภาพการณ์เฉพาะซึ่งต้องพิจารณาเป็นกรณี ๆ ไป ซึ่งก็ไม่ได้หมายความว่างบการเงินต้องแสดงข้อมูลที่มีนัยสำคัญเท่านั้น ตัวอย่างเช่น เหตุการณ์ภายหลังงบดุล เช่นบริษัทต้องปิดบัญชีทุกสิ้นปี แต่ต้นปีเกิดเพลิงไหม้โรงงานเสียหาย 10 ล้านบาท กับเสียหาย 5 หมื่นบาท กรณีแรกถือว่ามีนัยสำคัญ กิจการต้องเปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินภายใต้หัวข้อ เหตุการณ์ภายหลังวันที่งบดุล เนื่องจากขนาดของความเสียหายมีนัยสำคัญ ส่วนกรณีที่สองกิจการไม่จำเป็นต้องเปิดเผย เพราะขนาดความเสียหายไม่มีนัยสำคัญ อีกตัวอย่าง กิจการตรวจพบต้นปีลืมบันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรของปีที่แล้ว 10 ล้านบาท กรณีดังกล่าวกิจการต้องปรับปรุงรายการนี้เป็นของปีที่แล้ว เนื่องจากขนาดของความผิดพลาดมีนัยสำคัญ ซึ่งหากกิจการไม่ปรับปรุง จะทำให้งบการเงินมีความผิดพลาด เช่นกำไรสูงเกินจริง ซึ่งอาจกระทบการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ ของผู้ใช้งบการเงิน แต่ถ้าจำนวนเงินน้อยจนไม่มีนัยสำคัญก็ไม่จำเป็นต้องปรัปปรุง
3.ความเชื่อถือได้ (reliability) มีลักษณะอีก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ญี่ปุ่น) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
章テンプレート アカウント。財務諸表を作成するテキストを仮定しています。1. 積算基礎 (基本積算) 会計エントリおよびイベント発生時に認識されるように、ない彼らが (獲得) (実現された) を支払ったまたは受信または保存され、それが濃くなる、財務諸表に表示されますリスト変更できます将来的に併 (実現) またものの合理的な金額を支払います。たとえば、現金のために販売またはクレジット カード商品売り上げ高は、売り上げ高の場合のリスクとリターンを買い手に商品の所有権の本質は、転送。したがって、収益が商品のためお客様が事前に支払った場合は、収益認識基準としてお金を得ていない出現期間の物語に基づいて認識です。転送のリスクと買い手に商品の所有権の本質である報酬はありませんので、収益は行われていません。この場合は事前に受け取った収入や負債として認識されます。費用は現金で支払われるまたは未払費用費用を負担しました。既にサービスでなら。現金またはお金で支払われるそれが期間の経費ホルダーまたは非支払いが被ったが、前払費用でない場合、サービスはまだ与えられていないが、和解があるために発生すると考えられています。このような状況は、前払費用または資産として認識されます。主義の財務諸表の作成は財務諸表に表示されるデータを引き起こす金融位置を反映し、財務諸表は、過去には、情報を提供するため、合弁会社の操作の結果は tongkwa 現金ベース (基本的なキャッシュ) をされている現金または現金同等物の領収書が表示されません。2. 連続運転 (居抜き)、合弁会社は意図またはキャンセルまたは重要な操作のサイズを小さく必要があります。メッセージがない場合、このメッセージは非常に重要であると仮定します。期間または会計年度を定義するには、期間は、事業が時を終了するかどうかを予測できないため非常に困難になります。に加えて資産の値を測定します。元の原価価格を使用しない、または清算が近い将来に予想される場合、価格を他の適当な必須の販売価格を必要とするかもしれない。さらに、減価償却の問題またはある償却資産劣化のため資産の推定寿命は、資産と負債のリストは分類できません、循環と非循環アイテムし党の支出総額を認識に失敗しました時間の適切な期間によるとその後、破棄します。しかし、このような行為は、過去に大きな負債を持つ状態で続行するか、破産を提出されているベンチャーまたは必要性は、連続運転のため使用できませんだった場合、。当事者は財務諸表の準備でその他の条件を使用することが、なぜ当事者はいない連続運転に使用される可能性についての事実を開示しました。およびその他のアカウントで使用して、財務諸表の基準の開示。財務諸表の質的特性質的特性は、金融データのプロパティを参照してくださいステートメントは次を含んでいるユーザーに便利です。1.ความเข้าใจได้ (understandability) ข้อมูลในงบการเงินที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงินเพื่อการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจควรเป็นข้อมูลที่ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจได้โดยตั้งอยู่บนสมมติฐานว่าผู้ใช้งบการเงินมีความรู้ ตามควรเกี่ยวกับธุรกิจกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและการบัญชี รวมทั้งมีความตั้งใจตามควรที่จะศึกษา ดังนั้นการจัดทำงบการเงินถึงแม้ว่าข้อมูลจะซับซ้อน ถ้าข้อมูลนั้นเกี่ยวข้องกันการตัดสินใจ กิจการต้องแสดงข้อมูลไว้ในงบการเงินเสมอ โดยต้องถือเสมือนว่าผู้ใช้งบการเงินสามารถทำความเข้าใจในข้อมูลที่แสดงไว้ได้2. 関連した決定 (関連) 有用な情報を財務諸表利用者の意思決定に必要な関連。情報は、財務諸表、過去の出来事を評価することができます経済的意思決定に関する。現在と未来も同様に確認か、財務諸表利用者の過去の評価のエラーを示す役立ちます。データが現在に戻って検討する決定に関与しているかなど、メソッドは重要指定。とおりです。データを表示する方法。2.1ข้อมูลในงบการเงินต้องแสดงรายการและตัวเลขอย่างน้อย 2 งวดเปรียบเทียบกัน เพื่อสามารถคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต สามารถประเมินเหตุการณ์ทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตได้ดียิ่งขึ้น 2.2 ข้อมูลในงบการเงินต้องมีการจัดประเภท ให้เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ เช่น ในงบดุลถ้าไม่มีการแบ่งสินทรัพย์ และหนี้สิน เป็นหมุนเวียนและไม่หมุนเวียน ก็ไม่สามารถประเมินสภาพคล่องโครงสร้างทางการเงิน และความสามารถในการชำระหนี้ได้2.3 ต้องมีการแยกรายการพิเศษหรือรายการไม่ปกติออกจากรายการปกติ2.4 は、決定をする時間での情報を提供する必要があります。情報が遅れる場合。それは役に立つか決定に関連するではありません。大きな需要ความมีนัยสำคัญ จะขึ้นอยู่กับขนาดของรายการหรือขนาดของความผิดพลาดที่เกิดขึ้นภายใต้สภาพการณ์เฉพาะซึ่งต้องพิจารณาเป็นกรณี ๆ ไป ซึ่งก็ไม่ได้หมายความว่างบการเงินต้องแสดงข้อมูลที่มีนัยสำคัญเท่านั้น ตัวอย่างเช่น เหตุการณ์ภายหลังงบดุล เช่นบริษัทต้องปิดบัญชีทุกสิ้นปี แต่ต้นปีเกิดเพลิงไหม้โรงงานเสียหาย 10 ล้านบาท กับเสียหาย 5 หมื่นบาท กรณีแรกถือว่ามีนัยสำคัญ กิจการต้องเปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินภายใต้หัวข้อ เหตุการณ์ภายหลังวันที่งบดุล เนื่องจากขนาดของความเสียหายมีนัยสำคัญ ส่วนกรณีที่สองกิจการไม่จำเป็นต้องเปิดเผย เพราะขนาดความเสียหายไม่มีนัยสำคัญ อีกตัวอย่าง กิจการตรวจพบต้นปีลืมบันทึกค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรของปีที่แล้ว 10 ล้านบาท กรณีดังกล่าวกิจการต้องปรับปรุงรายการนี้เป็นของปีที่แล้ว เนื่องจากขนาดของความผิดพลาดมีนัยสำคัญ ซึ่งหากกิจการไม่ปรับปรุง จะทำให้งบการเงินมีความผิดพลาด เช่นกำไรสูงเกินจริง ซึ่งอาจกระทบการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ ของผู้ใช้งบการเงิน แต่ถ้าจำนวนเงินน้อยจนไม่มีนัยสำคัญก็ไม่จำเป็นต้องปรัปปรุง3.ความเชื่อถือได้ (reliability) มีลักษณะอีก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ญี่ปุ่น) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
は、金融文
1 を作成するのに使用されるアカウントマスター

前提しています。
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: