2.2.1 ทฤษฎีหลักการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) 2.2.1.1 การแปล - 2.2.1 ทฤษฎีหลักการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) 2.2.1.1 อังกฤษ วิธีการพูด

2.2.1 ทฤษฎีหลักการจัดการแบบวิทยาศาส

2.2.1 ทฤษฎีหลักการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
2.2.1.1 เฟรดเดอริค เทย์เลอร์ (1922) : ได้เสนอความเห็นในบทความชื่อ “The Principle of Scientific Management” ว่า การบริหารงานตามหลักวิทยาศาสตร์เป็นวิธีที่ดีกว่าการอาศัยหลักความเคยชิน (rule of thumb) ซึ่งเป็นการทำงานตามประสบการณ์ของคนงานแต่ละคนและใช้กันทั่วไปในขณะนั้น ในการบริหารงานตามความเคยชิน คนงานมีแนวโน้มที่จะอู้งาน ถ่วงงาน เกียจคร้านและคอยเลี่ยงงานอยู่ตลอดเวลา Frederick W. Taylor เชื่อว่า การบริหารแบบเดิมผู้บริหารมีหน้าที่น้อยมาก งานเบา เพราะการทำงานต่างๆ ขึ้นอยู่กับคนงาน ดังนั้น การอาศัยหลักวิทยาศาสตร์มาใช้ในการบริหารจัดการจะทำให้ผู้บริหารได้ทำงานมากขึ้น โดยกำหนดให้มีการแบ่งงานกันทำระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ายคนงานอย่างเท่าๆ กัน ทั้งนี้ ผู้บริหารมีหน้าที่ดังนี้
1. สร้างหลักการทำงานที่เป็นวิทยาศาสตร์สำหรับการทำงานในขั้นตอนต่างๆ ของงาน แทนการปฏิบัติตามความเคยชิน ได้แก่
1.1 ความชำนาญเฉพาะด้าน (Specialization)
1.2 วิธีการทำงานที่ดีสุดเพียงวิธีเดียว (One Best Way)
1.3 ระบบการจูงใจโดยใช้มาตรฐานของงาน (Incentive Wage System)
1.4 การศึกษาระยะเวลาและการเคลื่อนไหวในการปฏิบัติงาน (Time and Motion Study)
1.5 ระบบการจ่ายค่าตอบแทนเป็นรายชิ้น (Piece Rate System)
2. คัดเลือกคนงานตามหลักกฎเกณฑ์วิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้คนที่เหมาะกับงาน
3. พัฒนาคนงานให้เรียนรู้หลักการทำงานแบบวิทยาศาสตร์
4. สร้างบรรยากาศการร่วมมือระหว่างผู้บริหารกับคนงาน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
2.2.1 the primary theory of scientific management (Scientific Management). 2.2.1.1 เฟรดเดอริค เทย์เลอร์ (1922) : ได้เสนอความเห็นในบทความชื่อ “The Principle of Scientific Management” ว่า การบริหารงานตามหลักวิทยาศาสตร์เป็นวิธีที่ดีกว่าการอาศัยหลักความเคยชิน (rule of thumb) ซึ่งเป็นการทำงานตามประสบการณ์ของคนงานแต่ละคนและใช้กันทั่วไปในขณะนั้น ในการบริหารงานตามความเคยชิน คนงานมีแนวโน้มที่จะอู้งาน ถ่วงงาน เกียจคร้านและคอยเลี่ยงงานอยู่ตลอดเวลา Frederick W. Taylor เชื่อว่า การบริหารแบบเดิมผู้บริหารมีหน้าที่น้อยมาก งานเบา เพราะการทำงานต่างๆ ขึ้นอยู่กับคนงาน ดังนั้น การอาศัยหลักวิทยาศาสตร์มาใช้ในการบริหารจัดการจะทำให้ผู้บริหารได้ทำงานมากขึ้น โดยกำหนดให้มีการแบ่งงานกันทำระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ายคนงานอย่างเท่าๆ กัน ทั้งนี้ ผู้บริหารมีหน้าที่ดังนี้1. create a master work is the science for work in the various stages of the work, rather than compliance issues: 1.1 specific expertise (Specialization) 1.2 how it works just as well (One Best Way). 1.3 the incentive system, using the standard of the job (Incentive Wage System). 1.4 the study duration and animation work (Time and Motion Study). The compensation system, 1.5 a piece (Piece Rate System). 2. the selection of workers according to the rules of science to get people who fit the job. 3. development of the workers to learn the principles of science. 4. create an atmosphere of cooperation between management and the workers.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
2.2.1 Principles of scientific theories (Scientific Management)
2.2.1.1 Frederick C. Taylor (1922) have offered an opinion in an article entitled "The Principle of Scientific Management" that the administration is unscientific. way better than the main living habits (rule of thumb), which is run by the experiences of individual workers and commonly used at that time. The administration as habit. Workers tend to linger idly and wait for weighting job truant all the time, Frederick W. Taylor believes that conventional management executives have very little light because of different functions. Thus, depending on the worker based on scientific principles used in the administration will make the work more manageable. By imposing a division of labor made ​​between management and workers equally, the executives are as follows:
1. Create a work of science for his work in the various stages of the practices will include
1.1 expertise. (Specialization)
1.2 How to work the best, the only way (One Best Way)
1.3 system, persuading the standard of work (Incentive Wage System)
1.4, the duration and movement in performance (Time and Motion Study)
1.5 dispensing systems. Compensation per piece (first to rate Piece System)
2. workers recruited under the rules of science. For someone who fits
three. Development workers to learn scientific principles
4. Create an atmosphere of cooperation between management and workers.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
2.2.1 theory principles of scientific management (Scientific Management)
2.2.1.1 Frederick Taylor (1922):Comments on the article proposed the name "The Principle of Scientific Management." that the administration according to the principle of science as a way to better the principles of habit. (rule of thumb) which is a work based on the experience of individual employee and commonly used at that time.The workers are likely to slack off, slow, lazy and to avoid work all the time Frederick W.Taylor believe that traditional management executive has very little light work, because work, depending on the workers. Therefore, the science principles used in management to make ผู้บริหารได้ work more and more.. the executive is as follows:
.1. Create the working principle as a science for working in various stages of the work, instead of abiding habits, including
1.1 skilled talents. (Specialization)
1.2 methods work best only one way (One Best Way)
1.3 motivation system, using the standard of work (Incentive Wage System)
1.4 study time and movement in performance (Time and. Motion Study)
1.5 compensation system is a piece (Piece Rate System)
2.Selection based on the rules of science workers To get the perfect man for the job. 3. Development workers to learn the principles of Science
4. Create the atmosphere of cooperation between the management and the workers
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: