เด็กไทยรั้งท้ายทักษะไอซีที แนะปรับการเรียนการสอน  สถาบันส่งเสริมวิทยาศ การแปล - เด็กไทยรั้งท้ายทักษะไอซีที แนะปรับการเรียนการสอน  สถาบันส่งเสริมวิทยาศ อังกฤษ วิธีการพูด

เด็กไทยรั้งท้ายทักษะไอซีที แนะปรับก

เด็กไทยรั้งท้ายทักษะไอซีที แนะปรับการเรียนการสอน

สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) จัดแถลงข่าวผลการวิจัยโครงการประเมินการเรียนรู้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ของนักเรียนไทยเทียบกับนานาชาติ โดยมี รศ.ดร.พินิติ รตะนานุ เลขาธิการสภาการศึกษา ดร.สุพัตรา ผาติวิสันต์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท. และดร.ชัยวุฒิ เลิศวนสิริวรรณ ผู้ช่วยนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ สสวท. ร่วมแถลงข่าว

ดร.ชัยวุฒิ กล่าวว่า โครงการดังกล่าวจัดขึ้นโดยสมาคมนานาชาติที่ทำหน้าที่ประเมินผลด้านการศึกษา หรือ ไออีเอ เพื่อประเมินผลเกี่ยวกับการรู้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยสอบถามผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน และผู้รับผิดชอบด้านไอซีทีของโรงเรียนในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ซึ่งมีประเทศที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 20 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย อาร์เจนตินา แคนาดา สวิตเซอร์แลนด์ ชิลี โครเอเชีย สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก ฮ่องกง เยอรมนี เกาหลีใต้ ลิธัวเนีย เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ สาธารณรัฐสโลวัก สโลวีเนีย รัสเซีย ตุรกี และ ไทย โดยมีนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดที่เข้าร่วมประเมินทั้งสิ้น 59,430 คน ในส่วนของประเทศไทยได้ใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้น ม.2 ในสถานศึกษาทุกสังกัด 3,646 คน จาก 198 โรงเรียน อย่างไรก็ตาม ครั้งนี้ประเทศอาร์เจนตินา และ แคนาดา ขอเข้าร่วมสังเกตการณ์ก่อน ส่วนอีก 4 ประเทศ ได้แก่ เดนมาร์ก ฮ่องกง เนเธอร์แลนด์ และสวิตเซอร์แลนด์ ข้อมูลไม่ครบตามที่โครงการกำหนด จึงถูกตัดสิทธิ์ ส่งผลให้เหลือประเทศที่เข้ารับการประเมินทั้งหมด 14 ประเทศ

ดร.ชัยวุฒิ กล่าวต่อไปว่า ทางโครงการได้กำหนดให้ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบ เท่ากับ 500 คะแนน ซึ่งผลประเมินพบว่า ประเทศที่ได้คะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยที่ตั้งไว้ อันดับ 1 คือ สาธารณรัฐเช็ก ได้ 553 คะแนน รองลงมาคือ ออสเตรเลีย ได้ 542 คะแนน โปแลนด์ และ นอร์เวย์ ได้ 537 คะแนน เกาหลีใต้ ได้ 536 คะแนน เยอรมนี ได้ 523 คะแนน สาธารณรัฐสโลวัก ได้ 517 คะแนน รัสเซีย ได้ 516 คะแนน โครเอเชีย ได้ 512 คะแนน และ สโลวีเนีย ได้ 511 คะแนน ส่วนประเทศที่ได้คะแนนต่ำกว่าค่าเฉลี่ยที่ตั้งไว้ คือ ลิธัวเนีย ได้ 494 คะแนน ชิลี ได้ 487 คะแนน ส่วนประเทศไทย อยู่ในอันดับที่ 13 ได้ 373 คะแนน ซึ่งเป็นอันดับสองนับจากท้าย ที่ได้คะแนนต่ำสุด คือ ตุรกี ได้ 361 คะแนน สำหรับประเทศไทยเมื่อจำแนกผลการประเมินตามสังกัด พบว่า นักเรียนในโรงเรียนสาธิต สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้คะแนนเฉลี่ย 518 คะแนน ถือว่าสูงกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติที่ตั้งไว้ และสูงกว่าโรงเรียนในสังกัดอื่นๆ รองลงมา คือโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ได้ 395 คะแนน โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่เปิดสอนเฉพาะ ม.1 - 6 ได้ 382 คะแนน โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้ 377 คะแนน โรงเรียนสังกัดเทศบาล/ท้องถิ่น ได้ 346 คะแนน และโรงเรียนขยายโอกาสสังกัด สพฐ. ได้ 330 คะแนน

ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาผลการประเมินในแต่ละด้าน พบว่า คะแนนด้านการรู้คอมพิวเตอร์ และสารสนเทศของนักเรียนมีความสำคัญอย่างมาก กับค่าดรรชนีการพัฒนา ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของแต่ละประเทศ โดยประเทศที่มีค่าดรรชนีการพัฒนาด้านไอซีทีสูง ก็มีแนวโน้มที่ผลคะแนนจะสูง สำหรับประเทศไทยมีค่าดัชนีการพัฒนาด้านเทคโนโลยีฯ ต่ำที่สุด นอกจากนี้ ยังพบว่า พื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของผู้ปกครองมีความสัมพันธ์กับคะแนนด้านการรู้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศของนักเรียน ซึ่งถ้าผู้ปกครองมีพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจที่สูง ก็มีแนวโน้มที่นักเรียนจะมีคะแนนสูงขึ้นตามไปด้วย ซึ่งประเทศไทยนั้นนักเรียน 61% ผู้ปกครองมีพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจอยู่ในระดับต่ำ จึงส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยต่ำลงไปด้วย ขณะเดียวกันยังพบว่าครอบครัวที่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้าน จะทำให้นักเรียนมีคะแนนสูงขึ้น ซึ่งในส่วนของประเทศไทยยังมีครอบครัวที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้านอยู่ถึง 28% ปัจจัยต่อมา คือ สัดส่วนนักเรียนต่อคอมพิวเตอร์ที่โรงเรียน พบว่า ยิ่งสัดส่วนนักเรียนต่อคอมพิวเตอร์น้อย คะแนนเฉลี่ยจะยิ่งสูง ประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอร์ของครู มีผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก ซึ่งในส่วนของประเทศไทยพบว่ามีครูที่ไม่เคยใช้คอมพิวเตอร์ อยู่ 8% ขณะที่ประเทศอื่นๆ ที่ร่วมประเมินอยู่ที่ 5%

“จากการประเมินครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรต้องมีการปรับปรุง สาระการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลาง ที่แสดงให้เห็นกระบวนการและทักษะที่จะเกิดกับผู้เรียนโดยเฉพาะทักษะที่ทำให้เกิดการคิดวิเคราะห์ รวมทั้งควรปรับวิธีการวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกันเพราะปัจจุบันครูเน้นสอน และวัดผลแต่โปรแกรมสำนักงาน ไม่ฝึกให้เด็กรู้จักใช้ทักษะและกระบวนการแก้ปัญหา นอกจากนี้ต้องปรับโครงสร้างหลักสูตรวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มาอยู่ในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จากเดิมที่อยู่ในกลุ่มสาระการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี ในปัจจุบัน ควรจัดอบรมครูในทุกวิชาให้สามารถใช้ไอซีทีในการเรียนการสอนได้ เปิดโอกาสให้นักเรียนเข้าถึงไอซีทีเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาทั้งในโรงเรียนและที่บ้าน” ดร.ชัยวุฒิ กล่าว


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Children Thailand times finally suggested tune ICT skills teaching Institute for the promotion of science and technology (sotwot). APS News research projects to assess the learning computer and information technology of Thailand against international students, with Prof. Dr. Phiniti Ratananu. The Secretary-General of the Council of education. Dr. Suphatra Phatiwisan Assistant Director Sotwot. Dr. Chai Wan Siri Assistant degree fine loop innovation. to learn sotwot. Joint Press Conference Dr. Chai lawmaker says it was held by the Association of international education evaluation function or an EA for evaluation on computer & information literacy of high school students in year 2, by the inquiry's management school. Students and teachers responsible for the school's ICT in areas related to the use of computers and information technology, which is a country that joined the project, a number of countries, including Australia, Argentina 20 Switzerland Canada Chile Croatia Czech Republic Denmark Hong had a.South Korea Lithuania Netherlands Norway hotels Germany Poland Russia Slovakia Slovenia Turkey and Thailand with students samples of all participating in assessment of the country's people in Thailand 59430 has used a sample of the student class. M 2 in school every school from 198 3646 affiliation, however, this time, Argentina and Canada ask the participant to observe first. The other four countries, namely Denmark, Hong Kong, Netherlands and Switzerland. The information given by the project is therefore disqualified results in countries undergoing evaluation, all 14 countries. ดร.ชัยวุฒิ กล่าวต่อไปว่า ทางโครงการได้กำหนดให้ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบ เท่ากับ 500 คะแนน ซึ่งผลประเมินพบว่า ประเทศที่ได้คะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยที่ตั้งไว้ อันดับ 1 คือ สาธารณรัฐเช็ก ได้ 553 คะแนน รองลงมาคือ ออสเตรเลีย ได้ 542 คะแนน โปแลนด์ และ นอร์เวย์ ได้ 537 คะแนน เกาหลีใต้ ได้ 536 คะแนน เยอรมนี ได้ 523 คะแนน สาธารณรัฐสโลวัก ได้ 517 คะแนน รัสเซีย ได้ 516 คะแนน โครเอเชีย ได้ 512 คะแนน และ สโลวีเนีย ได้ 511 คะแนน ส่วนประเทศที่ได้คะแนนต่ำกว่าค่าเฉลี่ยที่ตั้งไว้ คือ ลิธัวเนีย ได้ 494 คะแนน ชิลี ได้ 487 คะแนน ส่วนประเทศไทย อยู่ในอันดับที่ 13 ได้ 373 คะแนน ซึ่งเป็นอันดับสองนับจากท้าย ที่ได้คะแนนต่ำสุด คือ ตุรกี ได้ 361 คะแนน สำหรับประเทศไทยเมื่อจำแนกผลการประเมินตามสังกัด พบว่า นักเรียนในโรงเรียนสาธิต สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้คะแนนเฉลี่ย 518 คะแนน ถือว่าสูงกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติที่ตั้งไว้ และสูงกว่าโรงเรียนในสังกัดอื่นๆ รองลงมา คือโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ได้ 395 คะแนน โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่เปิดสอนเฉพาะ ม.1 - 6 ได้ 382 คะแนน โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้ 377 คะแนน โรงเรียนสังกัดเทศบาล/ท้องถิ่น ได้ 346 คะแนน และโรงเรียนขยายโอกาสสังกัด สพฐ. ได้ 330 คะแนน ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาผลการประเมินในแต่ละด้าน พบว่า คะแนนด้านการรู้คอมพิวเตอร์ และสารสนเทศของนักเรียนมีความสำคัญอย่างมาก กับค่าดรรชนีการพัฒนา ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของแต่ละประเทศ โดยประเทศที่มีค่าดรรชนีการพัฒนาด้านไอซีทีสูง ก็มีแนวโน้มที่ผลคะแนนจะสูง สำหรับประเทศไทยมีค่าดัชนีการพัฒนาด้านเทคโนโลยีฯ ต่ำที่สุด นอกจากนี้ ยังพบว่า พื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของผู้ปกครองมีความสัมพันธ์กับคะแนนด้านการรู้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศของนักเรียน ซึ่งถ้าผู้ปกครองมีพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจที่สูง ก็มีแนวโน้มที่นักเรียนจะมีคะแนนสูงขึ้นตามไปด้วย ซึ่งประเทศไทยนั้นนักเรียน 61% ผู้ปกครองมีพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจอยู่ในระดับต่ำ จึงส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยต่ำลงไปด้วย ขณะเดียวกันยังพบว่าครอบครัวที่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้าน จะทำให้นักเรียนมีคะแนนสูงขึ้น ซึ่งในส่วนของประเทศไทยยังมีครอบครัวที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้านอยู่ถึง 28% ปัจจัยต่อมา คือ สัดส่วนนักเรียนต่อคอมพิวเตอร์ที่โรงเรียน พบว่า ยิ่งสัดส่วนนักเรียนต่อคอมพิวเตอร์น้อย คะแนนเฉลี่ยจะยิ่งสูง ประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอร์ของครู มีผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก ซึ่งในส่วนของประเทศไทยพบว่ามีครูที่ไม่เคยใช้คอมพิวเตอร์ อยู่ 8% ขณะที่ประเทศอื่นๆ ที่ร่วมประเมินอยู่ที่ 5% “จากการประเมินครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรต้องมีการปรับปรุง สาระการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลาง ที่แสดงให้เห็นกระบวนการและทักษะที่จะเกิดกับผู้เรียนโดยเฉพาะทักษะที่ทำให้เกิดการคิดวิเคราะห์ รวมทั้งควรปรับวิธีการวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกันเพราะปัจจุบันครูเน้นสอน และวัดผลแต่โปรแกรมสำนักงาน ไม่ฝึกให้เด็กรู้จักใช้ทักษะและกระบวนการแก้ปัญหา นอกจากนี้ต้องปรับโครงสร้างหลักสูตรวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มาอยู่ในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จากเดิมที่อยู่ในกลุ่มสาระการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี ในปัจจุบัน ควรจัดอบรมครูในทุกวิชาให้สามารถใช้ไอซีทีในการเรียนการสอนได้ เปิดโอกาสให้นักเรียนเข้าถึงไอซีทีเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาทั้งในโรงเรียนและที่บ้าน” ดร.ชัยวุฒิ กล่าว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Thai children behind skills ICT. Adjust instruction

Institute for the promotion of science and Technology (ScienceResearch learning evaluation project) press conference for computer and information technologies. Of the students against the international by Dr. guide. รตะ long e Education Council, Dr. dog, พัตรา ผาติ วิสันต์ assistant director The science and Dr.Between, excellence of siriwan assistant innovation for learning science join statement

.Between said that such a project organized by the International Association of job evaluation in education or IEA to evaluate cognitive computers and information. The students 2.Teachers, students, and responsible for ICT in schools of things. Related to computer and information. The country joined the project number 20 countries including Australia, Argentina, Canada, Switzerland.Croatian, Czech Republic Denmark, Hong Kong, Germany, South Korea, Lithuanian, Netherlands Norway Poland, Slovakia Slovenia Russia, Turkey, and the students are all subjects participated in the evaluation, all 59430 people in the countries most M. 2 in schools, all under the 3
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: