ประวัติ ความเป็นมา และรูปแบบธงชาติไทย ธง สยามหรือธงชาติไทยมีมาตั้งแต่เ การแปล - ประวัติ ความเป็นมา และรูปแบบธงชาติไทย ธง สยามหรือธงชาติไทยมีมาตั้งแต่เ อังกฤษ วิธีการพูด

ประวัติ ความเป็นมา และรูปแบบธงชาติไ

ประวัติ ความเป็นมา และรูปแบบธงชาติไทย

ธง

สยามหรือธงชาติไทยมีมาตั้งแต่เมื่อใดไม่ปรากฏเป็นที่แน่ชัด เท่าที่พบหลักฐานเชื่อกันได้ว่าน่าจะเกิดขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เพราะปรากฏเรื่องราวอยู่ในหนังสือจดหมายเหตุของฝรั่งเศส โดยได้กล่าวไว้ว่าเมื่อวันที่ ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๒๒๓ เรือรบของฝรั่งเศสชื่อ เลอรโวตูร์ โดยมี มองซิเออร์ คอนูแอน เป็นนายเรือ ได้นำเรือเข้ามาถึงปากแม่น้ำเจ้าพระยา เพื่อเจริญพระราชไมตรีและการค้า นายเรือได้สอบถามทางกรุงศรีอยุธยาว่า ถ้าจะยิงสลุต (ยิงปืนให้ความเคารพ) ให้แก่สยาม เมื่อเรือผ่านป้อมวิไชเยนทร์ (ปัจจุบันคือป้อมวิชัยสิทธิ์) ตามประเพณีของชาวยุโรป จะเป็นการขัดข้องหรือไม่ สมเด็จพระนารายณ์ทรงอนุญาต และรับสั่งให้เจ้าเมืองบางกอก คือ ออกพระศักดิ์สงคราม ให้ทางป้อมยิง สลุตตอบด้วย และในการที่เรือรบฝรั่งเศลได้ยิงสลุตให้นั้น ทางป้อมก็ชักธงชาติขึ้น แต่ในห้วงเวลานั้นธงชาติสยามยังไม่มี จึงได้ชักธงชาติฮอลันดาขึ้นแทน แต่ฝรั่งเศสไม่ยอมยิงสลุต เพราะเห็นว่าไม่ใช่ธงของชาติสยาม จึงแจ้งให้ทราบว่า หากสยามประสงค์จะให้ฝรั่งเศสยิงสลุตให้ ก็เอาธงฮอลันดาลงเสีย แล้วชักธงอย่างหนึ่งอย่างใดขึ้นแทน เผอิญในสมัยนั้นธงสีแดงถือเป็นธงที่สยามใช้สำหรับเป็นธงนำทัพอยู่แล้ว สยามจึงนำธงแดงชักขึ้น จากนั้นฝรั่งเศสจึงยิงสลุตให้ ด้วยเหตุนี้สยามจึงถือเอาธงสีแดงเป็นธงชาติสยาม

ครั้น

ถึงสมัยกรุงธนบุรีและต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ก็ยังคงใช้ธงสีแดงเกลี้ยงชักเป็นเครื่องหมายประจำเรือค้าขายกับต่างประเทศอยู่ ธงแดงนี้ใช้ชักขึ้นทั้งในเรือหลวงและเรือราษฎร ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ ๑) ทรงมีพระราชดำริว่าเรือหลวงกับเรือราษฎรควรมีเครื่องหมายให้เห็นแตกต่างกัน จึงมีพระบรมราชโองการให้ทำรูป "จักร" สีขาวติดไว้กลางธงสีแดงเป็นเครื่องหมายใช้เฉพาะเรือหลวง ส่วนเรือค้าขายของราษฎรทั่วไปนั้น ยังคงใช้สีแดงเกลี้ยงอยู่

ขึ้น

รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พ.ศ. ๒๓๖๐ - ๒๓๖๖ (รัชกาลที่ ๒) ประเทศอังกฤษได้เข้ามาตั้งสถานีการค้าขายอยู่ที่ประเทศสิงคโปร์ และพระองค์ท่านทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเรือกำปั่นของหลวงขึ้น ๒ ลำเพื่อล่องค้าขายระหว่างสิงคโปร์และมาเก๊า โดยที่เรือหลวงทั้งสองลำดังกล่าวจะชักธงแดงตามธรรมเนียมที่ปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยอยุธยา กระทั่งวันหนึ่งประเทศอังกฤษซึ่งเป็นเจ้าเมืองสิงคโปร์ได้บอกกับนายเรือหลวงของสยามให้มากราบบังคับทูลพระเจ้ากรุงสยามว่า ..."เรือเดินทะเลชาวมลายูที่ค้าขายกับสิงคโปร์ก็ชักธงแดงเหมือนกัน เพราะฉะนั้นจึงขอให้พระเจ้ากรุงสยามใช้ธงอย่างอื่นเสีย เพื่อจะได้จัดการรับรองเรือหลวงได้สะดวกและไม่สับสน"... และที่สำคัญในช่วงรัชกาลที่ ๒ นี้ พระองค์ทรงได้ช้างเผือกเอกมาสู่พระบารมีถึง ๓ ช้าง คือ พระเศวตกุญชร พระยาเศวตไอยรา และพระยาเศวตคชลักษณ์ ซึ่งถือเป็นพระเกียรติยศอย่างสูง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำรูปช้างสีขาวยืนพื้นอยู่ในวงจักรสีขาวติดไว้กลางธงแดงอันมีความหมายว่า “พระเจ้าแผ่นดินผู้มีช้างเผือก” และธงรูปช้างเผือกสีขาวอยู่ในวงจักรสีขาวนี้ก็ใช้เฉพาะเรือหลวงเท่านั้น ส่วนเรือพ่อค้าไทยทั่วไปก็ยังคงใช้ธงแดงอยู่ตามเดิม โดยใช้ธงสยามแบบนี้จนถึงรัชกาลที่ ๓

ครั้น

ขึ้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) สยามได้มีการทำหนังสือสัญญาเปิดการค้าขายกับชาวตะวันตกมากขึ้น ทำให้มีเรือสินค้าของประเทศต่างๆ ทั้งจากยุโรปและอเมริกาล่องเข้ามาค้าขายมากขึ้น พร้อมทั้งมีสถานกงสุลตั้งอยู่ในพระนคร ซึ่งชักธงชาติของประเทศตนเองขึ้นเป็นสำคัญ ดังนั้นจึงจำเป็นที่ประเทศสยามจะต้องมีธงชาติที่แน่นอน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชดำริว่าธงสีแดงซึ่งเป็นธงที่ใช้กับเรือของสามัญชนชาวสยามนั้น ซ้ำกับประเทศอื่น ยากต่อการแยกแยะ สมควรยกเลิกเสีย และหันมาใช้ธงอย่างเรือหลวงเป็นธงชาติสยามสำหรับเรือสามัญชนด้วย แต่โปรดเกล้าให้เอารูปวงจักรสีขาวออกเสีย เพราะเป็นของสูงซึ่งถือเป็นเครื่องหมายเฉพาะของพระเจ้าแผ่นดินเท่านั้น โดยให้คงไว้แต่รูปช้างเผือกอยู่กลางธงแดง แต่ทว่าให้ปรับขนาดช้างเผือกให้ใหญ่ขึ้น โดยในช่วงแรกเป็นแบบช้างเผือกยืนพื้น ต่อมาปรับรูปช้างเป็นแบบช้างเผือกปล่อย

(หมายเหตุ : จากหลักฐานล่าสุดที่พิพิธภัณฑ์ธงชาติไทยได้ค้นคว้าจนค้นพบเรื่องการใช้ธงช้างเผือกเป็นธงชาติสยาม ได้พบว่ามีหนังสือหลายเล่มของต่างประเทศ ได้พิมพ์ธงช้างเผือก ในฐานะธงชาติสยามมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ แล้ว ... โปรดศึกษาหลักฐานจากหน้าเฉพาะเรื่อง)


โดยในช่วงแรกเป็นแบบช้างเผือกยืนพื้น ต่อมาปรับรูปช้างเป็นแบบช้างเผือกปล่อย

ครั้น
ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) ก็ได้ออกพระราชบัญญัติว่าด้วยแบบอย่างธงสยามเป็นครั้งแรก ตรงกับรัตนโกสินทร์ศก ๑๑๐ ต่อมาคือพระราชบัญญัติธงสยาม รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๖ และพระราชบัญญัติธงสยาม รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๘ โดยทุกฉบับได้ยืนยันถึงลักษณะของธงชาติสยามเป็นแบบธงพื้นสีแดงตรงกลางเป็นรูปช้างเผือกสีขาวปล่อยหันหน้าเข้าหาเสา

ภายหลัง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖) ได้ทรงพระราชดำริว่า เมื่อมองธงชาติซึ่งใช้อยู่ในขณะนั้นแต่ไกล จะมีลักษณะไม่ต่างจากธงราชการเท่าไร และรูปช้างที่อยู่กลางธงก็ไม่งดงาม จึงโปรดเกล้าฯ ให้ออกประกาศเพิ่มเติมและแก้ไขพระราชบัญญัติธงรัตนโกสินทรศก ๑๒๙ ตามมาตรา ๔ ข้อ ๑๕ โดยแก้ไขลักษณะธงชาติเป็นดังนี้ (คลิกที่นี่!!!)"ให้แก้ธงชาติเปนพื้นสีแดง กลางเปนรูปช้างเผือกทรงเครื่อง ยืนแท่น หน้าหันเข้าเสา สำหรับเปนธงราชการ" ประกาศมา ณ วันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พระพุทธศักราช ๒๔๕๙ ซึ่งถือเป็นธงช้างรูปสุดท้ายของธงในสมัยรัตนโกสินทร์


และ

ช่วงท้ายในปีพ.ศ. ๒๔๕๙ ก็ได้มีการยกเลิกการใช้ธงชาติแบบช้างเผือกทรงเครื่อง ยืนแท่น หน้าหันเข้าเสา เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชดำริเปลี่ยนธงช้างเป็นธงแถบสี เพราะทรงเห็นความลำบากของราษฎรที่ต้องสั่งซื้อธงช้างมาจากต่างประเทศ และบางครั้งเมื่อเกิดความสะเพร่าติดธงผิด รูปช้างกลับเอาขาชี้ขึ้นเป็นที่น่าละอาย (สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๕๙ พระอง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The history and the Thai flag format. The flag. Siamese or Thai flag has since when does not appear to be unclear as it was believed that the evidence would have occurred at the Narai reign because they appear in story books, archives of France, said that France's warship 2223 (1680) September 3, when the name is Wole Soyinka-view restaurant tour suppliers. A nu is the boat captain has led Ann to arrive at the mouth of the Chao Phraya River. To grow his ratmaitri and trade. Mr. vessel had inquiries to Bank of ayudhya said that if they shoot salut (shooting of respect), as well as Siam. When the ship passes Fort Willoughby China ye not (license is current vichai Fortress) by the European tradition of failure or not. Somdet Phra Narai, he allowed and his owners, which means holy war, the city was the Fort fired on and responded with salut battleship firing, salut, that sen. To pull it, but flag fortress in a limited time, the flag of Siam, there has not yet persuaded France holanda flag instead. doesn't shoot salut because non-national flag of Siam, it notices that if Siam, France wishes to shoot it down, salut holanda flag removal has persuaded one of the flag up instead. The thing is that the red flag is the flag of Siam for sayam. brings the force flag is therefore red flag pull up and then shoot it, salut France. For this reason, it is a red flag to assume a Siamese flag of Siam. ButTo Thonburi and Rattanakosin cost still use the red flag as they cleaned out regularly ships trading with foreign countries. This red flag pull up both in the boat and boat people. Later King Buddha FA male kite world (King Rama IV 1) vessel with the capital that he has with people, boats should be marked with a visible difference. It has a Royal command to perform a "mechanical" white stick is in the middle of the red flag is the only capital ship. Best boat trading of the common people continued to use the totally red. .รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พ.ศ. ๒๓๖๐ - ๒๓๖๖ (รัชกาลที่ ๒) ประเทศอังกฤษได้เข้ามาตั้งสถานีการค้าขายอยู่ที่ประเทศสิงคโปร์ และพระองค์ท่านทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเรือกำปั่นของหลวงขึ้น ๒ ลำเพื่อล่องค้าขายระหว่างสิงคโปร์และมาเก๊า โดยที่เรือหลวงทั้งสองลำดังกล่าวจะชักธงแดงตามธรรมเนียมที่ปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยอยุธยา กระทั่งวันหนึ่งประเทศอังกฤษซึ่งเป็นเจ้าเมืองสิงคโปร์ได้บอกกับนายเรือหลวงของสยามให้มากราบบังคับทูลพระเจ้ากรุงสยามว่า ..."เรือเดินทะเลชาวมลายูที่ค้าขายกับสิงคโปร์ก็ชักธงแดงเหมือนกัน เพราะฉะนั้นจึงขอให้พระเจ้ากรุงสยามใช้ธงอย่างอื่นเสีย เพื่อจะได้จัดการรับรองเรือหลวงได้สะดวกและไม่สับสน"... และที่สำคัญในช่วงรัชกาลที่ ๒ นี้ พระองค์ทรงได้ช้างเผือกเอกมาสู่พระบารมีถึง ๓ ช้าง คือ พระเศวตกุญชร พระยาเศวตไอยรา และพระยาเศวตคชลักษณ์ ซึ่งถือเป็นพระเกียรติยศอย่างสูง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำรูปช้างสีขาวยืนพื้นอยู่ในวงจักรสีขาวติดไว้กลางธงแดงอันมีความหมายว่า “พระเจ้าแผ่นดินผู้มีช้างเผือก” และธงรูปช้างเผือกสีขาวอยู่ในวงจักรสีขาวนี้ก็ใช้เฉพาะเรือหลวงเท่านั้น ส่วนเรือพ่อค้าไทยทั่วไปก็ยังคงใช้ธงแดงอยู่ตามเดิม โดยใช้ธงสยามแบบนี้จนถึงรัชกาลที่ ๓ Butขึ้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) สยามได้มีการทำหนังสือสัญญาเปิดการค้าขายกับชาวตะวันตกมากขึ้น ทำให้มีเรือสินค้าของประเทศต่างๆ ทั้งจากยุโรปและอเมริกาล่องเข้ามาค้าขายมากขึ้น พร้อมทั้งมีสถานกงสุลตั้งอยู่ในพระนคร ซึ่งชักธงชาติของประเทศตนเองขึ้นเป็นสำคัญ ดังนั้นจึงจำเป็นที่ประเทศสยามจะต้องมีธงชาติที่แน่นอน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชดำริว่าธงสีแดงซึ่งเป็นธงที่ใช้กับเรือของสามัญชนชาวสยามนั้น ซ้ำกับประเทศอื่น ยากต่อการแยกแยะ สมควรยกเลิกเสีย และหันมาใช้ธงอย่างเรือหลวงเป็นธงชาติสยามสำหรับเรือสามัญชนด้วย แต่โปรดเกล้าให้เอารูปวงจักรสีขาวออกเสีย เพราะเป็นของสูงซึ่งถือเป็นเครื่องหมายเฉพาะของพระเจ้าแผ่นดินเท่านั้น โดยให้คงไว้แต่รูปช้างเผือกอยู่กลางธงแดง แต่ทว่าให้ปรับขนาดช้างเผือกให้ใหญ่ขึ้น โดยในช่วงแรกเป็นแบบช้างเผือกยืนพื้น ต่อมาปรับรูปช้างเป็นแบบช้างเผือกปล่อย (Note: the latest evidence from the Thai national flag Museum has research until the discovery of the use of a white elephant flag of Siam. There are many books have found that foreign books have printed white elephant flag as the flag of Siam since the reign of King Rama seating. The reign of the 3 ... Please study the evidence from specific pages) The first is a white elephant stand ground. Later, a white elephant elephant image adjustments let ButReign King Chulalongkorn (King Rama v 5), it has released some act of Siam is a 110 year old first match later is the Act of the Rattanakosin era and 116 in Siam Act 118 year old Siamese flag by all confirmed features of the flag of Siam, is a red flag in the middle is a white elephant, white left facing the poles. Afterwards.His Majesty Rama (Rama 6) is that when I looked at the flag, which is currently used, but so far it looks not much different from the public image of the elephant and the middle of the flag is attributed to hence issued additional notices and Corrections Act of loans to find the section 129 thonsok Ratana 4 verse 15 by editing style flag is as follows (click here!) "to resolve the flag of central Copenhagen Copenhagen red hair white elephant pictures. Standing in front of the altar facing the entrance pillars for the Copenhagen Government flag "Buddhist monks announced November 21, which is an elephant flag 2459 the last picture of the old flag. AndIn the end, 2459 (1916) has been aborted using the flag of the white elephant hair. Standing in front of the altar facing the entrance pillars because of King Mongkut Klao Chao his initiative to change the flag color flag as the elephant. Because he saw the people's hardship must be purchased from the elephant flag abroad. And sometimes, when the flag stick carelessness errors Changklap image removing legs pointing up is ashamed (because when God 2459 (1916) September 13 hotkeys.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติ ความเป็นมา และรูปแบบธงชาติไทย

ธง

สยามหรือธงชาติไทยมีมาตั้งแต่เมื่อใดไม่ปรากฏเป็นที่แน่ชัด เท่าที่พบหลักฐานเชื่อกันได้ว่าน่าจะเกิดขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เพราะปรากฏเรื่องราวอยู่ในหนังสือจดหมายเหตุของฝรั่งเศส โดยได้กล่าวไว้ว่าเมื่อวันที่ ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๒๒๓ เรือรบของฝรั่งเศสชื่อ เลอรโวตูร์ โดยมี มองซิเออร์ คอนูแอน เป็นนายเรือ ได้นำเรือเข้ามาถึงปากแม่น้ำเจ้าพระยา เพื่อเจริญพระราชไมตรีและการค้า นายเรือได้สอบถามทางกรุงศรีอยุธยาว่า ถ้าจะยิงสลุต (ยิงปืนให้ความเคารพ) ให้แก่สยาม เมื่อเรือผ่านป้อมวิไชเยนทร์ (ปัจจุบันคือป้อมวิชัยสิทธิ์) ตามประเพณีของชาวยุโรป จะเป็นการขัดข้องหรือไม่ สมเด็จพระนารายณ์ทรงอนุญาต และรับสั่งให้เจ้าเมืองบางกอก คือ ออกพระศักดิ์สงคราม ให้ทางป้อมยิง สลุตตอบด้วย และในการที่เรือรบฝรั่งเศลได้ยิงสลุตให้นั้น ทางป้อมก็ชักธงชาติขึ้น แต่ในห้วงเวลานั้นธงชาติสยามยังไม่มี จึงได้ชักธงชาติฮอลันดาขึ้นแทน แต่ฝรั่งเศสไม่ยอมยิงสลุต เพราะเห็นว่าไม่ใช่ธงของชาติสยาม จึงแจ้งให้ทราบว่า หากสยามประสงค์จะให้ฝรั่งเศสยิงสลุตให้ ก็เอาธงฮอลันดาลงเสีย แล้วชักธงอย่างหนึ่งอย่างใดขึ้นแทน เผอิญในสมัยนั้นธงสีแดงถือเป็นธงที่สยามใช้สำหรับเป็นธงนำทัพอยู่แล้ว สยามจึงนำธงแดงชักขึ้น จากนั้นฝรั่งเศสจึงยิงสลุตให้ ด้วยเหตุนี้สยามจึงถือเอาธงสีแดงเป็นธงชาติสยาม

ครั้น

ถึงสมัยกรุงธนบุรีและต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ก็ยังคงใช้ธงสีแดงเกลี้ยงชักเป็นเครื่องหมายประจำเรือค้าขายกับต่างประเทศอยู่ ธงแดงนี้ใช้ชักขึ้นทั้งในเรือหลวงและเรือราษฎร ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ ๑) ทรงมีพระราชดำริว่าเรือหลวงกับเรือราษฎรควรมีเครื่องหมายให้เห็นแตกต่างกัน จึงมีพระบรมราชโองการให้ทำรูป "จักร" สีขาวติดไว้กลางธงสีแดงเป็นเครื่องหมายใช้เฉพาะเรือหลวง ส่วนเรือค้าขายของราษฎรทั่วไปนั้น ยังคงใช้สีแดงเกลี้ยงอยู่

ขึ้น

รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พ.ศ. ๒๓๖๐ - ๒๓๖๖ (รัชกาลที่ ๒) ประเทศอังกฤษได้เข้ามาตั้งสถานีการค้าขายอยู่ที่ประเทศสิงคโปร์ และพระองค์ท่านทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเรือกำปั่นของหลวงขึ้น ๒ ลำเพื่อล่องค้าขายระหว่างสิงคโปร์และมาเก๊า โดยที่เรือหลวงทั้งสองลำดังกล่าวจะชักธงแดงตามธรรมเนียมที่ปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยอยุธยา กระทั่งวันหนึ่งประเทศอังกฤษซึ่งเป็นเจ้าเมืองสิงคโปร์ได้บอกกับนายเรือหลวงของสยามให้มากราบบังคับทูลพระเจ้ากรุงสยามว่า ..."เรือเดินทะเลชาวมลายูที่ค้าขายกับสิงคโปร์ก็ชักธงแดงเหมือนกัน เพราะฉะนั้นจึงขอให้พระเจ้ากรุงสยามใช้ธงอย่างอื่นเสีย เพื่อจะได้จัดการรับรองเรือหลวงได้สะดวกและไม่สับสน"... และที่สำคัญในช่วงรัชกาลที่ ๒ นี้ พระองค์ทรงได้ช้างเผือกเอกมาสู่พระบารมีถึง ๓ ช้าง คือ พระเศวตกุญชร พระยาเศวตไอยรา และพระยาเศวตคชลักษณ์ ซึ่งถือเป็นพระเกียรติยศอย่างสูง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำรูปช้างสีขาวยืนพื้นอยู่ในวงจักรสีขาวติดไว้กลางธงแดงอันมีความหมายว่า “พระเจ้าแผ่นดินผู้มีช้างเผือก” และธงรูปช้างเผือกสีขาวอยู่ในวงจักรสีขาวนี้ก็ใช้เฉพาะเรือหลวงเท่านั้น ส่วนเรือพ่อค้าไทยทั่วไปก็ยังคงใช้ธงแดงอยู่ตามเดิม โดยใช้ธงสยามแบบนี้จนถึงรัชกาลที่ ๓

ครั้น

ขึ้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) สยามได้มีการทำหนังสือสัญญาเปิดการค้าขายกับชาวตะวันตกมากขึ้น ทำให้มีเรือสินค้าของประเทศต่างๆ ทั้งจากยุโรปและอเมริกาล่องเข้ามาค้าขายมากขึ้น พร้อมทั้งมีสถานกงสุลตั้งอยู่ในพระนคร ซึ่งชักธงชาติของประเทศตนเองขึ้นเป็นสำคัญ ดังนั้นจึงจำเป็นที่ประเทศสยามจะต้องมีธงชาติที่แน่นอน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชดำริว่าธงสีแดงซึ่งเป็นธงที่ใช้กับเรือของสามัญชนชาวสยามนั้น ซ้ำกับประเทศอื่น ยากต่อการแยกแยะ สมควรยกเลิกเสีย และหันมาใช้ธงอย่างเรือหลวงเป็นธงชาติสยามสำหรับเรือสามัญชนด้วย แต่โปรดเกล้าให้เอารูปวงจักรสีขาวออกเสีย เพราะเป็นของสูงซึ่งถือเป็นเครื่องหมายเฉพาะของพระเจ้าแผ่นดินเท่านั้น โดยให้คงไว้แต่รูปช้างเผือกอยู่กลางธงแดง แต่ทว่าให้ปรับขนาดช้างเผือกให้ใหญ่ขึ้น โดยในช่วงแรกเป็นแบบช้างเผือกยืนพื้น ต่อมาปรับรูปช้างเป็นแบบช้างเผือกปล่อย

(หมายเหตุ : จากหลักฐานล่าสุดที่พิพิธภัณฑ์ธงชาติไทยได้ค้นคว้าจนค้นพบเรื่องการใช้ธงช้างเผือกเป็นธงชาติสยาม ได้พบว่ามีหนังสือหลายเล่มของต่างประเทศ ได้พิมพ์ธงช้างเผือก ในฐานะธงชาติสยามมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ แล้ว ... โปรดศึกษาหลักฐานจากหน้าเฉพาะเรื่อง)


โดยในช่วงแรกเป็นแบบช้างเผือกยืนพื้น ต่อมาปรับรูปช้างเป็นแบบช้างเผือกปล่อย

ครั้น
ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) ก็ได้ออกพระราชบัญญัติว่าด้วยแบบอย่างธงสยามเป็นครั้งแรก ตรงกับรัตนโกสินทร์ศก ๑๑๐ ต่อมาคือพระราชบัญญัติธงสยาม รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๖ และพระราชบัญญัติธงสยาม รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๘ โดยทุกฉบับได้ยืนยันถึงลักษณะของธงชาติสยามเป็นแบบธงพื้นสีแดงตรงกลางเป็นรูปช้างเผือกสีขาวปล่อยหันหน้าเข้าหาเสา

ภายหลัง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖) ได้ทรงพระราชดำริว่า เมื่อมองธงชาติซึ่งใช้อยู่ในขณะนั้นแต่ไกล จะมีลักษณะไม่ต่างจากธงราชการเท่าไร และรูปช้างที่อยู่กลางธงก็ไม่งดงาม จึงโปรดเกล้าฯ ให้ออกประกาศเพิ่มเติมและแก้ไขพระราชบัญญัติธงรัตนโกสินทรศก ๑๒๙ ตามมาตรา ๔ ข้อ ๑๕ โดยแก้ไขลักษณะธงชาติเป็นดังนี้ (คลิกที่นี่!!!)"ให้แก้ธงชาติเปนพื้นสีแดง กลางเปนรูปช้างเผือกทรงเครื่อง ยืนแท่น หน้าหันเข้าเสา สำหรับเปนธงราชการ" ประกาศมา ณ วันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พระพุทธศักราช ๒๔๕๙ ซึ่งถือเป็นธงช้างรูปสุดท้ายของธงในสมัยรัตนโกสินทร์


และ

ช่วงท้ายในปีพ.ศ. ๒๔๕๙ ก็ได้มีการยกเลิกการใช้ธงชาติแบบช้างเผือกทรงเครื่อง ยืนแท่น หน้าหันเข้าเสา เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชดำริเปลี่ยนธงช้างเป็นธงแถบสี เพราะทรงเห็นความลำบากของราษฎรที่ต้องสั่งซื้อธงช้างมาจากต่างประเทศ และบางครั้งเมื่อเกิดความสะเพร่าติดธงผิด รูปช้างกลับเอาขาชี้ขึ้นเป็นที่น่าละอาย (สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๕๙ พระอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The history and form a flag flag



.Siam or Thai flag has since when does not appear as yet. As evidence to believe that could happen in the reign of King Narai the great Because the story is in the หนังสือจดหมายเหตุ appear of France.3 September B.Prof.22 23 frigates of France named เลอร vocal tour, with Monsieur neck Nu Ann you ship has นำเรือ came to the Chao Phraya River. To live a diplomatic relations and trade. You can ask the ship Ayutthaya to open fire!To Siam when the ship through the fortress เยนทร์ simple Chinese. The present is the fortress (rights) in the tradition of European companies will be failure, Pope field cases experience allow it. And commanded to governor Bangkok is out of the holy war.Salut answer. And that French warships have open fire to the fort's national flag. But that ในห้วงเวลา Siam flag yet. The Dutch national flag instead. But France refused to open fire! Because that is the national flag of Siam.If the Siam wishes to French open fire. Take the flag down and a Dutch flag one instead. But in those days, the red flag is a flag for a ธงนำ siam siam army already took the red flag ชักขึ้น.For this reason, so take a red flag as the flag of siam siam
.
when

.To สมัยกรุงธนบุรี and early Rattanakosin. Still use a red flag is a sign of smooth whip ships trading with foreign. The red flag is used in both the Royal Navy ships and whip up the people. Later King Rama I the.1) was a Royal Navy ship that people should have marked the show different. The order to do a "machine" white on red flag is a sign used only the central Royal boat The trading ships of the general.
.


up during the reign of King Buddha loetla nabhalai BC.23 60 - 23 6 6 (2) British reign to set up trading posts for sale in Singapore. And, he graciously pleased. To build the ships of up two ships to sail trading between Singapore and Macao.Until one day, England which was governor of Singapore tell you the Royal Navy of the guard to มากราบ forced upon God Siam.... "" marine Malays who trade with Singapore's flag red, too. Therefore God Siam use ธงอ otherwise. To manage the certified Navy convenient and not confused... "And the reign 2. He has opened to white elephant gracious to 3 elephant is the เศวตกุญชร praya white elephants and Phraya white roast. Which is the highly honor. He graciously pleased."King of the white elephant." Flag and white elephant white in this white machine using specialized ships. The merchant ship in general still use the red flag was unchanged. Using this flag until the reign of Siam 3
.
when

.On the reign of King Mongkut (4) Siam has book contract open trade with the westerners. The cargo ships of other countries. Both Europe and America box to trade more and more.The national flag of the country himself is important. Thus, it is necessary to have the flag of Siam. Mongkut the king that the red flag, which is the flag used with ships of the commoner Siamese.Difficult to distinguish, should cancel. And turned the ธงอ grill Royal Navy as Siam flag ship for the common people. But to give the church, white figure out. Because it is the only high marks of the earth.However, adjust the size of bigger. Initially as a white elephant in order. Later, the elephant is a white elephant let
.
(Note:Recent evidence that the national flag museum research until the discovery of the use of the flag of Siamese Siamese Have found that there are many books of foreign printing Siamese.. 3.... please study evidence from a specific page about)
.

initially as a white elephant in order. Later, the elephant is a white elephant let

when
.The reign of King Chulalongkorn (. 5) act on the model flag Siam first meets the water. His education was the flag Siam water 11 6.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: