เรื่องทฤษฎีการเรียนรู้แนวปัญญานิยม (Cognitive theory) ความหมายกลุ่มปัญ การแปล - เรื่องทฤษฎีการเรียนรู้แนวปัญญานิยม (Cognitive theory) ความหมายกลุ่มปัญ อังกฤษ วิธีการพูด

เรื่องทฤษฎีการเรียนรู้แนวปัญญานิยม

เรื่องทฤษฎีการเรียนรู้แนวปัญญานิยม (Cognitive theory)

ความหมายกลุ่มปัญญานิยม

ปัญญานิยมหรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจ หรือบางครั้งอาจเรียกว่ากลุ่มพุทธินิยม เป็นกลุ่มที่เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด นักคิดกลุ่มนี้ ได้ขยายขอบเขตของความคิดที่เน้นทางด้านพฤติกรรม ออกไปสู่กระบวนการทางความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในสมอง ทฤษฎีปัญญานิยมนี้ เกิดขึ้นจากแนวคิดของชอมสกี้ (Chomsky) ที่ไม่เห็น ด้วยกับสกินเนอร์ (Skinner) บิดา ของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ในการมองพฤติกรรมมนุษย์มนุษย์ไว้ว่า เป็นเสมือนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ชอมสกี้เชื่อว่า พฤติกรรมมนุษย์นั้นเป็นเรื่องของภายในจิตใจ มนุษย์ไม่ใช่ผ้าขาวที่เมื่อใส่สีอะไรลงไปก็จะกลายเป็นสีนั้น มนุษย์มีความนึกคิด มีอารมณ์จิตใจและความรู้สึกภายในที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นการออกแบบการเรียนการสอนก็ควรที่จะคานึงถึงความแตกต่างภายในของมนุษย์ด้วย

ความแตกต่างระหว่างแนวคิดแบบพฤติกรรมนิยมและปัญญานิยม

เวสท์และคณะ (West and Others, 1991) ได้เสนอถึงความแตกต่างระหว่างทฤษฎีพฤติกรรมนิยมและปัญญานิยมไว้ดังนี้

ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมุ่งเน้นในเรื่องของพฤติกรรมหรือการกระทาภายนอกซึ่งสามารถสังเกตได้ ในขณะที่ทฤษฎีปัญญานิยมมุ่งเน้นถึงสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจมนุษย์
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมุ่งชี้ความสาคัญขององค์ประกอบย่อย ๆ แต่ละส่วนจากส่วนหนึ่งไปยังอีกส่วนหนึ่งและจากส่วนประกอบต่าง ๆ ไปสู่ภาพรวมหรือวัตถุประสงค์รวมในที่สุดในทางกลับกันนั้น ทฤษฎีปัญญานิยมพยายามชี้ในภาพรวมเป็นหลัก จากภาพรวมหรือวัตถุประสงค์รวมไปสู่ส่วนประกอบ และตามด้วยการมองจากส่วนประกอบต่าง ๆ ไปสู่ภาพรวมหรือวัตถุประสงค์รวมอีกครั้งหนึ่ง
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมุ่งเน้นสิ่งที่เป็นรูปธรรมซึ่งสามารถจับต้องได้ ในขณะที่ทฤษฎีปัญญานิยมมุ่งเน้นในสิ่งที่เป็นนามธรรมซึ่งไม่สามารถจับต้องได้
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องของความรู้ของมนุษย์ในลักษณะของสิ่งที่มีอยู่แล้วและรอให้มนุษย์ค้นพบและเรียกกลับมาใช้ใหม่ ในขณะที่ทฤษฎีปัญญานิยมมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องของความรู้ในลักษณะของสิ่งที่มนุษย์จาเป็นต้องสร้างให้เกิดขึ้นและหากต้องนาความรู้กลับมาใช้อีกก็จาเป็นจะต้องมีการสร้างขึ้นมาใหม่
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมเปรียบเทียบกับจิตใจมนุษย์เป็นเสมือนโรงงานประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ซึ่งหมายถึงความเชื่อที่ว่าสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจมนุษย์นั้นเกิดจากการประกอบขึ้นของมนุษย์นั่นเอง ไม่มีความสลับซับซ้อน ชิ้นส่วนในการประกอบเป็นอย่างไรผลผลิตที่ได้ก็จะเป็นเช่นนั้น ในขณะที่ทฤษฎีปัญญานิยมเปรียบเทียบจิตใจเป็นเสมือนคอมพิวเตอร์ซี่งหมายถึงความเชื่อที่ว่าสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจมนุษย์นั้นเกิดจากการประมวลผลภายในซึ่งมีการทางานที่สลับซับซ้อนและยากแก่การทาความเข้าใจ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมุ่งเน้นในผลลัพธ์ ในขณะที่ทฤษฎีปัญญานิยมมุ่งเน้นในกระบวนการตารางสรุปความแตกต่างของแนวความคิดระหว่างพฤติกรรมนิยม และปัญญานิยม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The learning theory of horizontal matters, intellectual (Cognitive theory). Popular intellectual group capabilities ปัญญานิยมหรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจ หรือบางครั้งอาจเรียกว่ากลุ่มพุทธินิยม เป็นกลุ่มที่เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด นักคิดกลุ่มนี้ ได้ขยายขอบเขตของความคิดที่เน้นทางด้านพฤติกรรม ออกไปสู่กระบวนการทางความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในสมอง ทฤษฎีปัญญานิยมนี้ เกิดขึ้นจากแนวคิดของชอมสกี้ (Chomsky) ที่ไม่เห็น ด้วยกับสกินเนอร์ (Skinner) บิดา ของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ในการมองพฤติกรรมมนุษย์มนุษย์ไว้ว่า เป็นเสมือนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ชอมสกี้เชื่อว่า พฤติกรรมมนุษย์นั้นเป็นเรื่องของภายในจิตใจ มนุษย์ไม่ใช่ผ้าขาวที่เมื่อใส่สีอะไรลงไปก็จะกลายเป็นสีนั้น มนุษย์มีความนึกคิด มีอารมณ์จิตใจและความรู้สึกภายในที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นการออกแบบการเรียนการสอนก็ควรที่จะคานึงถึงความแตกต่างภายในของมนุษย์ด้วยความแตกต่างระหว่างแนวคิดแบบพฤติกรรมนิยมและปัญญานิยมเวสท์และคณะ (West and Others, 1991) ได้เสนอถึงความแตกต่างระหว่างทฤษฎีพฤติกรรมนิยมและปัญญานิยมไว้ดังนี้ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมุ่งเน้นในเรื่องของพฤติกรรมหรือการกระทาภายนอกซึ่งสามารถสังเกตได้ ในขณะที่ทฤษฎีปัญญานิยมมุ่งเน้นถึงสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจมนุษย์ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมุ่งชี้ความสาคัญขององค์ประกอบย่อย ๆ แต่ละส่วนจากส่วนหนึ่งไปยังอีกส่วนหนึ่งและจากส่วนประกอบต่าง ๆ ไปสู่ภาพรวมหรือวัตถุประสงค์รวมในที่สุดในทางกลับกันนั้น ทฤษฎีปัญญานิยมพยายามชี้ในภาพรวมเป็นหลัก จากภาพรวมหรือวัตถุประสงค์รวมไปสู่ส่วนประกอบ และตามด้วยการมองจากส่วนประกอบต่าง ๆ ไปสู่ภาพรวมหรือวัตถุประสงค์รวมอีกครั้งหนึ่งทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมุ่งเน้นสิ่งที่เป็นรูปธรรมซึ่งสามารถจับต้องได้ ในขณะที่ทฤษฎีปัญญานิยมมุ่งเน้นในสิ่งที่เป็นนามธรรมซึ่งไม่สามารถจับต้องได้ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องของความรู้ของมนุษย์ในลักษณะของสิ่งที่มีอยู่แล้วและรอให้มนุษย์ค้นพบและเรียกกลับมาใช้ใหม่ ในขณะที่ทฤษฎีปัญญานิยมมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องของความรู้ในลักษณะของสิ่งที่มนุษย์จาเป็นต้องสร้างให้เกิดขึ้นและหากต้องนาความรู้กลับมาใช้อีกก็จาเป็นจะต้องมีการสร้างขึ้นมาใหม่ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมเปรียบเทียบกับจิตใจมนุษย์เป็นเสมือนโรงงานประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ซึ่งหมายถึงความเชื่อที่ว่าสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจมนุษย์นั้นเกิดจากการประกอบขึ้นของมนุษย์นั่นเอง ไม่มีความสลับซับซ้อน ชิ้นส่วนในการประกอบเป็นอย่างไรผลผลิตที่ได้ก็จะเป็นเช่นนั้น ในขณะที่ทฤษฎีปัญญานิยมเปรียบเทียบจิตใจเป็นเสมือนคอมพิวเตอร์ซี่งหมายถึงความเชื่อที่ว่าสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจมนุษย์นั้นเกิดจากการประมวลผลภายในซึ่งมีการทางานที่สลับซับซ้อนและยากแก่การทาความเข้าใจ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมุ่งเน้นในผลลัพธ์ ในขณะที่ทฤษฎีปัญญานิยมมุ่งเน้นในกระบวนการตารางสรุปความแตกต่างของแนวความคิดระหว่างพฤติกรรมนิยม และปัญญานิยม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
The popular wisdom, learning theory concept (Cognitive theory)

, meaning the popular wisdom,

intelligence, popularity, or cognition. Or sometimes called the popular perception. The group focuses on cognitive processes or ideas. This group of thinkers The idea of expanding the focus of the behavior. Into the process of thinking. This is a process in the brain This popular theory of mind Arose from the notion of Chomsky (Chomsky) who does not agree with Skinner (Skinner), father of the theory of behaviorism. In view that human behavior. As scientific experiments Chomsky believes Human behavior is that of the mind. Non-whites when man wearing what color to paint it, it will become. The human mind Emotionally, mentally, and feel different inside out. Therefore, the design of instruction should take into account the differences within the human

distinction between the concept of behaviorism and cognitive popular

West and the (West and Others, 1991) have suggested the difference. between behaviorism and cognitive theory as popular as

behaviorism theory focuses on the behavior or action which can be observed externally. While the theory of intelligent popular focus on what is within the human mind
theory behaviorism aimed at pointing out the importance of the sub-sections of the part to another part and the parts to the whole, or the whole. eventually, on the other hand that. Try the popular theory of intelligence as a whole is. The overall objectives or to combine components. And by the look of various components to overall objectives or combine one
behaviorism theory focuses on concrete things which can be tangible. While the theory of intellectual excellence focused on abstraction, which is not tangible
behavioral theories popular beliefs about the human knowledge of the characteristics of what is already there and waiting for people to discover and call back. re-use While the theory of intelligent popular belief about his knowledge of the characteristics of the human need to make that happen, and if the knowledge re-use, it is necessary to be rebuilt
theory. behaviorism compared to the human mind is like a factory assembly, which refers to the belief that what is inside the human mind that due to the reintroduction of itself. No complex Parts for the assembly of a product, it will be like that. While the theory of intelligence popularity compared the mind is like a computer, of which refers to the belief that what is inside the human mind that due process within which the work is complex and difficult to understand
the theory of behaviorism. focus on results While the popular theory of mind to focus on the summary table, the difference between the concepts of behaviorism and cognitive popular.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
About the theory of the cognitive (Cognitive theory).The popular wisdom, meaningThe popular wisdom or knowledge Or sometimes called the cognitive appreciated. Group focused on cognitive or ideas, thinker, this group. Has expanded the scope of thought focused on the behavior. Out into the process of thinking. This is a process within the brain. The theory of cognitive, arises from the concept of Chomsky (Chomsky) disagrees with the Skinner (Skinner). The father of behaviorism theory in looking human behavior of man. A scientific experiment Chomsky believe. Human behavior is that of the in the mind. Man is not a white cloth on what color will become the color in human thought. A mind and feelings in different. Therefore, the instructional design should be a price differences within the human.The difference between the concept of behaviorism and cognitive.West and faculty (West and Others 1991), propose the difference between behaviorism and cognitive usually follows.Behaviorism focuses on the behavior or an external attributes which can be observed. While the theory of cognitive focus on what is within the human mind.Behaviorism focuses on the point of importance of elements. Each part from one part to another part, and from parts to the overall purpose or combine finally, on the other hand, there. Theory of cognitive try to point the main. From the overall purpose or combined into components. And look from the parts to the whole purpose or combine again.Behaviorism focuses on what is tangible, which can be handled. While the theory of cognitive focus on abstraction, which cannot be handled.Behavioral theories have beliefs about knowledge of man in the nature of things is already discovered and called back and wait for human use. While the theory of cognitive beliefs about knowledge of the characteristics of the.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: