การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษา (1) เพื่อศึกษาความ การแปล - การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษา (1) เพื่อศึกษาความ อังกฤษ วิธีการพูด

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของกา

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษา (1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง (2) เพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง
กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในครั้งนี้ คือ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่1-4 ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง จำนวน 200 คน โดยวิธีสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็นด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ(systematic Random Sampling) เครื่องมือวิจัยเป็น แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t-test
ผลการวิจัยพบว่า (1) ก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อม
ความคิดเห็นเกี่ยวกับความต้องการด้านสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมความต้องการด้านกายภาพก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกชั้นปีอยู่ในระดับมาก (Mean=3.83, S.D.=0.266) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ความต้องการก่อนจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีการดูแลไม้ยืนต้นภายในวิทยาลัยให้มีความร่มรื่นสวยงาม (Mean=3.91,S.D.=0.386) รองลงมา คือ มีการกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เช่นบริเวณรั้วของวิทยาลัย สวนข้างอาคาร(Mean=3.87,S.D.= 0.224) ด้านการบริหารจัดการ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมความต้องการด้านการบริหารจัดการก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกชั้นปี อยู่ในระดับมาก (Mean=3.79S.D.= 0.231) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าความต้องการก่อนจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีผู้รับผิดชอบดูแลอาคารสถานที่ภูมิทัศน์เป็นลายลักษณ์อักษร(Mean=3.86,S.D.= 0.203)และมีการวางแผนด้านการดูแลสิ่งแวดล้อมภาย ในวิทยาลัย (Mean=3.86,S.D.=0.220) รองลงมา คือ มีฝ่ายที่รับผิดชอบในการจัดการและดูแลสิ่งแวดล้อม(Mean=3.83,S.D.=0.194) และด้านการจัดการขยะ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมความต้องการด้านการจัดการขยะก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกชั้นปี อยู่ในระดับมาก (Mean=3.89,S.D.= 0.362) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าความต้องการก่อนจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีถังขยะสำหรับแยกกระดาษเหลือใช้และขวดพลาสติก(Mean=3.84,S.D.=0.290) รองลงมา คือ มีการคัดแยกขยะ เช่น ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะมีพิษก่อนทิ้งทุกครั้ง(Mean=3.81,S.D.=0.356)
สภาพความเป็นจริงด้านสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมสภาพความเป็นจริงด้านกายภาพก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกชั้นปีอยู่ในระดับมาก (Mean=3.42, S.D.= 0.6363) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสภาพความเป็นจริงก่อนจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมน้อยที่สุด คือ สถานที่จอดรถมีความเพียงพอ มีมุมพักผ่อนให้นักศึกษาอย่างเพียงพอและมีมุมพักผ่อนให้อาจารย์และเจ้าหน้าที่อย่างเพียงพอ (Mean=3.20,S.D.= 0.095) รองลงมา คือ สถานที่ในการทำกิจกรรมและการออกกำลังกายมีความเหมาะสม(Mean=3.29,S.D.= 0.234) ด้านการบริหารจัดการ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมสภาพความเป็นจริงด้านการบริหารจัดการก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกชั้นปีอยู่ในระดับมาก (Mean=3.42,S.D.= 0.183) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสภาพความเป็นจริงก่อนจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมน้อยที่สุด คือ มีการแบ่งพื้นที่รับผิดชอบด้านภูมิทัศน์ภายในวิทยาลัย(Mean=3.35,S.D.=0.222) รองลงมา คือ มีการนิเทศให้ความรู้สำหรับการนำไปวางแผนดำเนินงานและพัฒนาสิ่งแวดล้อม(Mean=3.37,S.D.=0.175) และด้านการจัดการขยะ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมสภาพความเป็นจริงด้านการจัดการขยะก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกชั้นปี อยู่ในระดับปานกลาง (Mean=3.40,S.D.= 0.208) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสภาพความเป็นจริงก่อนจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมน้อยที่สุด คือ มีถังขยะตามจุดต่างๆเช่นอาคารเรียนหอประชุมโรงอาหารและหอพักนักศึกษา(Mean=3.01,S.D.=0.067) รองลงมา คือ มีการจัดการขยะเพื่อป้องกันการมีกลิ่นเหม็น(Mean=3.27,S.D.=0.177)
(2) หลังการจัดการสิ่งแวดล้อมความคิดเห็นเกี่ยวกับความต้องการด้านสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมความต้องการด้านกายภาพหลังการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก(Mean=3.26,S.D.= 0.240) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ความต้องการด้านกายภาพหลังจัดการสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด คือ มีการกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เช่นบริเวณรั้วของวิทยาลัย สวนข้างอาคาร(Mean=3.13,S.D.= 0.329) รองลงมา คือ โต๊ะเก้าอี้มีความพร้อมใช้อย่างเพียงพอ(Mean=3.15,S.D.=0.250) และสภาพห้องน้ำ/สุขาโดยรวมถูกสุขลักษณะ(Mean=3.15,S.D.= 0.413) ด้านการบริหารจัดการ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมความต้องการด้านการบริหารจัดการหลังการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับปานกลาง(Mean=3.10, S.D.= 0.324) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความต้องการด้านการบริหารจัดการหลังจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมน้อยที่สุด คือ มีผู้รับผิดชอบดูแลอาคารสถานที่ภูมิทัศน์เป็นลายลักษณ์อักษร(Mean=2.92,S.D.=0.438)รองลงมา มีการแบ่งพื้นที่รับผิดชอบด้านภูมิทัศน์ภายในวิทยาลัย(Mean=2.95,S.D.=0.466) และด้านการจัดการขยะ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมความต้องการด้านการจัดการขยะหลังการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับปานกลาง (Mean=3.04, S.D.= 0.258) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าความต้องการด้านการจัดการขยะหลังจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมน้อยที่สุด คือ มีถังขยะสำหรับแยกกระดาษเหลือใช้และขวดพลาสติก(Mean=2.81,S.D.=0.152) รองลงมา คือ มีการจัดการขยะเพื่อป้องกันการมีกลิ่นเหม็น(Mean=2.98,S.D.=0.170)
สภาพความเป็นจริงด้านสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ผลการวิเคราะห์พบว่าภาพรวมสภาพความเป็นจริงด้านกายภาพ หลังการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก (Mean=3.73,S.D.= 0.232) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสภาพความเป็นจริงด้านกายหลังจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมมากที่สุด คือมีการกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เช่นบริเวณรั้วของวิทยาลัย สวนข้างอาคาร (Mean=3.95,S.D.= 0.243) รองลงมามีการดูแลจัดบริเวณที่มีน้ำขังไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง(Mean=3.86,S.D.= 0.236) และมีการตกแต่งไม้ดอกไม้ประดับบริเวณรอบอาคารต่างๆอย่างสม่ำเสมอ (Mean=3.86,S.D.= 0.282) ด้านการบริหารจัดการ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมสภาพความเป็นจริงด้านการบริหารจัดการหลังการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดั
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
This study has the objective of educational research (1) to study the comments about environmental management of College nursing students and nursing baromrajonani. Trang (2) to develop a model of participation in the environmental management of the Nursing College nursing student baromrajonani. TrangThe samples in this study is year of student nursing class 1-4. College of nursing academic year 2558 baromrajonani Trang number 200 sampling method by using a probability sampling method a (systematic Random Sampling). As a research tool, the researchers created a questionnaire. The statistics used in the analysis of data is an average value and standard deviation of test t-test.The results showed that (1) before handling the environment. ความคิดเห็นเกี่ยวกับความต้องการด้านสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมความต้องการด้านกายภาพก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกชั้นปีอยู่ในระดับมาก (Mean=3.83, S.D.=0.266) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ความต้องการก่อนจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีการดูแลไม้ยืนต้นภายในวิทยาลัยให้มีความร่มรื่นสวยงาม (Mean=3.91,S.D.=0.386) รองลงมา คือ มีการกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เช่นบริเวณรั้วของวิทยาลัย สวนข้างอาคาร(Mean=3.87,S.D.= 0.224) ด้านการบริหารจัดการ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมความต้องการด้านการบริหารจัดการก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกชั้นปี อยู่ในระดับมาก (Mean=3.79S.D.= 0.231) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าความต้องการก่อนจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีผู้รับผิดชอบดูแลอาคารสถานที่ภูมิทัศน์เป็นลายลักษณ์อักษร(Mean=3.86,S.D.= 0.203)และมีการวางแผนด้านการดูแลสิ่งแวดล้อมภาย ในวิทยาลัย (Mean=3.86,S.D.=0.220) รองลงมา คือ มีฝ่ายที่รับผิดชอบในการจัดการและดูแลสิ่งแวดล้อม(Mean=3.83,S.D.=0.194) และด้านการจัดการขยะ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมความต้องการด้านการจัดการขยะก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกชั้นปี อยู่ในระดับมาก (Mean=3.89,S.D.= 0.362) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าความต้องการก่อนจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีถังขยะสำหรับแยกกระดาษเหลือใช้และขวดพลาสติก(Mean=3.84,S.D.=0.290) รองลงมา คือ มีการคัดแยกขยะ เช่น ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะมีพิษก่อนทิ้งทุกครั้ง(Mean=3.81,S.D.=0.356) สภาพความเป็นจริงด้านสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมสภาพความเป็นจริงด้านกายภาพก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกชั้นปีอยู่ในระดับมาก (Mean=3.42, S.D.= 0.6363) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสภาพความเป็นจริงก่อนจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมน้อยที่สุด คือ สถานที่จอดรถมีความเพียงพอ มีมุมพักผ่อนให้นักศึกษาอย่างเพียงพอและมีมุมพักผ่อนให้อาจารย์และเจ้าหน้าที่อย่างเพียงพอ (Mean=3.20,S.D.= 0.095) รองลงมา คือ สถานที่ในการทำกิจกรรมและการออกกำลังกายมีความเหมาะสม(Mean=3.29,S.D.= 0.234) ด้านการบริหารจัดการ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมสภาพความเป็นจริงด้านการบริหารจัดการก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกชั้นปีอยู่ในระดับมาก (Mean=3.42,S.D.= 0.183) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสภาพความเป็นจริงก่อนจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมน้อยที่สุด คือ มีการแบ่งพื้นที่รับผิดชอบด้านภูมิทัศน์ภายในวิทยาลัย(Mean=3.35,S.D.=0.222) รองลงมา คือ มีการนิเทศให้ความรู้สำหรับการนำไปวางแผนดำเนินงานและพัฒนาสิ่งแวดล้อม(Mean=3.37,S.D.=0.175) และด้านการจัดการขยะ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมสภาพความเป็นจริงด้านการจัดการขยะก่อนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกชั้นปี อยู่ในระดับปานกลาง (Mean=3.40,S.D.= 0.208) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสภาพความเป็นจริงก่อนจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมน้อยที่สุด คือ มีถังขยะตามจุดต่างๆเช่นอาคารเรียนหอประชุมโรงอาหารและหอพักนักศึกษา(Mean=3.01,S.D.=0.067) รองลงมา คือ มีการจัดการขยะเพื่อป้องกันการมีกลิ่นเหม็น(Mean=3.27,S.D.=0.177) (2) หลังการจัดการสิ่งแวดล้อมความคิดเห็นเกี่ยวกับความต้องการด้านสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมความต้องการด้านกายภาพหลังการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก(Mean=3.26,S.D.= 0.240) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ความต้องการด้านกายภาพหลังจัดการสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด คือ มีการกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เช่นบริเวณรั้วของวิทยาลัย สวนข้างอาคาร(Mean=3.13,S.D.= 0.329) รองลงมา คือ โต๊ะเก้าอี้มีความพร้อมใช้อย่างเพียงพอ(Mean=3.15,S.D.=0.250) และสภาพห้องน้ำ/สุขาโดยรวมถูกสุขลักษณะ(Mean=3.15,S.D.= 0.413) ด้านการบริหารจัดการ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมความต้องการด้านการบริหารจัดการหลังการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับปานกลาง(Mean=3.10, S.D.= 0.324) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความต้องการด้านการบริหารจัดการหลังจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมน้อยที่สุด คือ มีผู้รับผิดชอบดูแลอาคารสถานที่ภูมิทัศน์เป็นลายลักษณ์อักษร(Mean=2.92,S.D.=0.438)รองลงมา มีการแบ่งพื้นที่รับผิดชอบด้านภูมิทัศน์ภายในวิทยาลัย(Mean=2.95,S.D.=0.466) และด้านการจัดการขยะ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมความต้องการด้านการจัดการขยะหลังการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับปานกลาง (Mean=3.04, S.D.= 0.258) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าความต้องการด้านการจัดการขยะหลังจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมน้อยที่สุด คือ มีถังขยะสำหรับแยกกระดาษเหลือใช้และขวดพลาสติก(Mean=2.81,S.D.=0.152) รองลงมา คือ มีการจัดการขยะเพื่อป้องกันการมีกลิ่นเหม็น(Mean=2.98,S.D.=0.170) สภาพความเป็นจริงด้านสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ผลการวิเคราะห์พบว่าภาพรวมสภาพความเป็นจริงด้านกายภาพ หลังการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก (Mean=3.73,S.D.= 0.232) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสภาพความเป็นจริงด้านกายหลังจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมมากที่สุด คือมีการกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เช่นบริเวณรั้วของวิทยาลัย สวนข้างอาคาร (Mean=3.95,S.D.= 0.243) รองลงมามีการดูแลจัดบริเวณที่มีน้ำขังไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง(Mean=3.86,S.D.= 0.236) และมีการตกแต่งไม้ดอกไม้ประดับบริเวณรอบอาคารต่างๆอย่างสม่ำเสมอ (Mean=3.86,S.D.= 0.282) ด้านการบริหารจัดการ ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาพรวมสภาพความเป็นจริงด้านการบริหารจัดการหลังการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดั
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
This study has the objective of this research is to study (1) to comment on the environmental management of students of Nursing School of Nursing, Trang (2) to develop forms of participation in the environmental management of students. Nursing College of Nursing. Trang
sample in this study is a 1-4 year nursing students at the College of Nursing 2558 Trang 200 people by using probability sampling, with a sampling system (systematic Random Sampling). a research tool The questionnaire generated The statistics used for data analysis were mean, standard deviation. And Testing t-test
results showed that: (1) before the environmental
review of the physical environment on the demand side. The results showed that Overall demand for physical before environmental management with the participation of students in all grade levels much (Mean = 3.83, SD = 0.266) Considering agree that demand before EMS participatory as possible. is a perennial care within the college to have a beautiful garden. (Mean = 3.91, SD = 0.386), followed by a weed regularly. Such as a fence of college Park beside the building (Mean = 3.87, SD = 0.224) management. The results showed that Overall demand management and environmental management before the involvement of students in all year. At a high level (Mean = 3.79SD = 0.231) when considering that the demand before the environmental management involvement is most responsible for building the landscape is written (Mean = 3.86, SD = 0.203) and with. planning environmental stewardship within the college (Mean = 3.86, SD = 0.220), followed by the department responsible for the management and care of the environment (Mean = 3.83, SD = 0.194), and waste management. The results showed that Overall demand for waste management, environmental management before the involvement of students in all year. At a high level (Mean = 3.89, SD = 0.362) when an item is found that the demand before the environmental management involvement is a bin for separate paper waste and plastic bottles (Mean = 3.84, SD = 0.290) was minor. The waste such as household waste recycling toxic waste before disposal at all times (Mean = 3.81, SD = 0.356)
, physical environmental reality. The results showed that The overall reality of the physical prior environmental management with the participation of students in all grade levels much (Mean = 3.42, SD = 0.6363) considering the participants agree that the reality before environmental management there. the minimum parking facilities are adequate. Students should have adequate rest and recreation for faculty and staff adequately. (Mean = 3.20, SD = 0.095), followed by the location of activities and exercises are appropriate (Mean = 3.29, SD = 0.234) management. The results showed that Overview realities of management before management environment with participation of students in all grade levels. (Mean = 3.42, SD = 0.183) when considered individually, the reality before management environment with minimal involvement is the division responsible for the landscape within the college (Mean = 3.35, SD = 0.222) secondary. was there to oversee the knowledge for adoption planning, implementation and development environment (Mean = 3.37, SD = 0.175), and waste management. The results showed that Overview realities of environmental management, waste management before the involvement of students in all year. Is moderate (Mean = 3.40, SD = 0.208) when considered individually, the reality before environmental management involvement is minimal bins at various points such as school building, auditorium, cafeteria and dormitories (Mean = 3.01,. SD = 0.067), followed by a waste management to prevent odor (Mean = 27.03, SD = 0.177)
(2) after an environmental review of the physical environment on the demand side. The results showed that Overall demand for physical after environmental management are involved in high level (Mean = 3.26, SD = 0.240) Considering agree that demand physical after EMS least a weed regularly. Such as a fence of college Garden beside the building (Mean = 3.13, SD = 0.329), followed by tables and chairs are available adequately (Mean = 3.15, SD = 0.250) and a bathroom / WC overall hygiene (Mean = 3.15, SD = 0.413. ) Management The results showed that Overall, demand side management, environmental management, after participating in moderate (Mean = 3.10, SD = 0.324) when an item is found. Demand side management of the environment with minimal involvement is responsible for building the landscape is written (Mean = 2.92, SD = 0.438) lower. The division responsible for the landscape areas within the college (Mean = 2.95, SD = 0.466), and waste management. The results showed that Overall demand for waste management, the environmental management participation in moderate (Mean = 3.04, SD = 0.258) when considered individually, that the demand side waste management after management environment with minimal involvement. There is a bin for separate paper waste and plastic bottles (Mean = 2.81, SD = 0.152), followed by a waste management to prevent odor (Mean = 2.98, SD = 0.170)
Reality Environment. physical The results showed that the overall condition of the physical reality. The environmental management involvement at a high level. (Mean = 3.73, SD = 0.232) when considering the fact that they found the body after environmental management are the most engaging. Is there a weed regularly. Such as a fence of College Park, next to the building (Mean = 3.95, SD = 0.243), followed by the care arrangements where the water is a breeding ground for mosquitoes (Mean = 3.86, SD = 0.236) and a decorative timber. Flowers adorn the area around the building regularly. (Mean = 3.86, SD = 0.282) management. The results showed that Overview realities of management after environmental management are involved in low volumes.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The objective of this research is to study the (1) to study on the environmental management of nursing students in nursing college. Trang (2).Trang
.The study is 1-4 year nursing students academic year 2558 College of nursing, Trang, the 200 people. By using probability sampling method with random sampling system (systematic Random.Research tools as questionnaire. The statistical analysis is the mean, standard deviation, and testing the t-test
.The results showed that (1) environmental management
.Opinions on the environmental requirements physical analysis found that Overview of the physical needs of first environmental management participation of all students at a high level (Mean =, = 0. 3.83 S.D.266), the arrangement of the first cooperative environmental management most is there to take care of the trees within the college to the trees beautiful. (Mean =, = 0. 3.91 S.D.386), followed by the removal of weeds. Such as the fence of the college. The garden next to the building (Mean =, = 0. 3.87 S.D.224) management, the result showed that Overview of management needs before environmental management participation of students every year at a high level (Mean = 3.79S.D. = 0.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: