มิคุ้มกันต่ำกว่าปกติ หรือในช่วงที่ร่างกายอ่อนเพลียสะสมเป็นเวลานานและพั การแปล - มิคุ้มกันต่ำกว่าปกติ หรือในช่วงที่ร่างกายอ่อนเพลียสะสมเป็นเวลานานและพั อังกฤษ วิธีการพูด

มิคุ้มกันต่ำกว่าปกติ หรือในช่วงที่ร

มิคุ้มกันต่ำกว่าปกติ หรือในช่วงที่ร่างกายอ่อนเพลียสะสมเป็นเวลานานและพักผ่อนไม่เพียงพอ นอกจากนี้ ผู้สูงอายุ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี หรือผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับยากดภูมิต้านทานก็ยังเป็นอีกกลุ่มเสี่ยงที่อาจจะเกิดงูสวัดได้ง่ายกว่าคนทั่วไป

โรคงูสวัด

4. งูสวัด อาการเป็นอย่างไร ?

งูสวัด อาการเริ่มต้นจะเริ่มจากในช่วงก่อนเกิดผื่น 1-3 วัน ผู้ป่วยจะมีปวดแปลบ มีอาการคันหรือแสบร้อนบริเวณเส้นประสาทเป็นพัก ๆ บางรายก็อาจจะเกิดอาการนี้ตลอดเวลา โดยเฉพาะบริเวณชายโครง ใบหน้า แขน หรือขาเพียงข้างเดียว ในช่วงแรกอาจจะทำให้สับสนว่าเป็นอาการปวดกล้ามเนื้อ แต่แท้จริงแล้วนั่นเป็นอาการของเส้นประสาทอักเสบจนทำให้เกิดอาการปวดบริเวณผิวหนังที่ติดกับเส้นประสาทนั่นเอง ทั้งนี้บางรายอาจจะมีอาการไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้ และท้องเสียร่วมด้วย

หลังจากนั้นตุ่มน้ำจะเริ่มขึ้นบริเวณที่ปวดก่อนหน้า ซึ่งจะทยอยขึ้นมาเป็นจำนวนมากในช่วง 4 วันแรกที่เป็นงูสวัด แล้วจะค่อย ๆ แห้งตกสะเก็ดไปภายใน 7-10 วัน เมื่อสะเก็ดแผลหลุดออก อาการปวดก็จะเริ่มบรรเทาลง แต่ถ้าหากเป็นผู้ป่วยสูงอายุหรือผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำมาก ๆ ก็อาจจะมีอาการกินเวลานานเป็นเดือนกว่าจะหายเป็นปกติ

5. งูสวัด อีสุกอีใส และเริม แตกต่างกันอย่างไร ?

เนื่องจากโรคอีสุกอีใสและโรคงูสวัดเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดเดียวกันอาจจะทำให้คนที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับโรคเข้าใจผิดได้ ส่วนโรคเริมก็ยังมีลักษณะตุ่มน้ำคล้ายกับงูสวัด จึงมีวิธีการสังเกตความแตกต่างดังนี้ค่ะ

http://img.kapook.com/image/icon/48be2683.gif โรคอีสุกอีใส - อาการเริ่มแรกจะมีไข้ร่วมกับผื่นแดง และตุ่มน้ำใส ๆ กระจายตามลำตัว ใบหน้าตั้งแต่วันแรกที่มีไข้ ทั้งนี้อาจมีอาการคันร่วมด้วย

http://img.kapook.com/image/icon/48be2683.gif โรคงูสวัด - ตุ่มน้ำจะเกิดขึ้นหลังจากมีอาการปวดแสบปวดร้อนบริเวณแนวเส้นประสาท 1-3 วัน โดยอาจะมีอาการไข้ร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้ แต่จะมีอาการคันบริเวณตุ่มน้ำ

http://img.kapook.com/image/icon/48be2683.gif โรคเริม - โรคเริมเป็นอาการที่สังเกตได้ง่าย โดยจะมีตุ่มน้ำใสขึ้นหลายเม็ดเป็นหย่อม ๆ หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ มักเกิดขึ้นที่บริเวณเดียว ได้แก่ ริมฝีปาก แก้ม จมูก หู ตา ก้น หรืออวัยวะเพศ มักจะเกิดขึ้นซ้ำซาก และจะหายไปเอง หรือต้องทายาเพื่อให้ตุ่มน้ำยุบลง

6. งูสวัด เป็นกี่วันถึงหาย ?

โดยปกติแล้วโรคงูสวัดจะสามารถหายไปได้ด้วยตัวเองภายในเวลา 10-15 วัน นับตั้งแต่เริ่มสำแดงอาการ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของผู้ป่วย ถ้าหากมีภูมิคุ้มกันที่ไม่แข็งแรงพอก็อาจจะทำให้อาการของโรคยาวนานขึ้น บางรายแม้ตุ่มน้ำจะยุบไปแล้วก็อาจจะมีอาการปวดตามแนวเส้นประสาทตามมา ซึ่งต้องใช้เวลาหลายเดือนหรืออาจจะยาวนานนับปีกว่าจะหายสนิทค่ะ

7. งูสวัด อาการแทรกซ้อนมีอะไรบ้าง อันตรายอย่างไร ?

โรคงูสวัดเป็นโรคที่ไม่อันตราย แต่ก็มีกรณีที่น่าเป็นห่วงเช่นกัน นั่นก็คือในกรณีที่มีภาวะแทรกซ้อน ซึ่งภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยก็คือ อาการปวดตามแนวเส้นประสาท หลังจากการติดเชื้อ โดยส่วนใหญ่จะพบได้ในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป บางรายอาจจะใช้เวลาไม่นานก็หาย แต่บางรายที่มีอาการรุนแรงอาจมีอาการปวดเรื้อรังหลายปี นอกจากนี้ก็ยังอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ได้อีก เช่น การติดเชื้อแบคทีเรีย ตาอักเสบ แผลที่กระจกตา ภาวะแทรกซ้อนที่หู ขณะที่ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำมาก ๆ อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงมากกว่าและแพร่กระจายได้ เช่น สมองอักเสบ หรือปอดอักเสบ แต่ก็เป็นอาการที่พบได้น้อย

8. งูสวัด รักษาอย่างไร?

โรคงูสวัดสามารถรักษาได้ด้วยยาต้านเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่าอะซัยโคลเวียร์ (acyclovir) ซึ่งเป็นยาที่สามารถรักษาได้ทั้งผู้ป่วยโรคอีสุกอีใส งูสวัด และโรคเริม โดยยาดังกล่าวมีทั้งแบบยาเม็ดแคปซูล ยาทา และยาฉีด ซึ่งจะต้องใช้ภายใต้การดูแลของแพทย์อย่างเคร่งครัด เนื่องจากยาชนิดนี้มีระยะเวลาออกฤทธิ์ที่สั้น และซึมเข้าสู่ร่างกายได้น้อย จึงจำเป็นต้องได้รับยาชนิดนี้ถี่กว่ายาทั่วไป โดยในการรักษาจะต้องได้รับยาอะซัยโคลเวียร์ขนาด 800 มิลลิกรัม วันละ 5 ครั้ง ในทุก ๆ 4 ชั่วโมง ยกเว้นเวลากลางคืน และต้องใช้ยาชนิดนี้ติดต่อกัน 7-10 วัน ส่วนยาฉีดนั้นก็จะต้องได้รับวันละ 5 ครั้ง ครั้งละ 500 มิลลิกรัมเข้าทางหลอดเลือดดำโดยตรง ระยะเวลาก็เท่ากับการรับประทานยา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
มิคุ้มกันต่ำกว่าปกติ หรือในช่วงที่ร่างกายอ่อนเพลียสะสมเป็นเวลานานและพักผ่อนไม่เพียงพอ นอกจากนี้ ผู้สูงอายุ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี หรือผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับยากดภูมิต้านทานก็ยังเป็นอีกกลุ่มเสี่ยงที่อาจจะเกิดงูสวัดได้ง่ายกว่าคนทั่วไปโรคงูสวัด 4. งูสวัด อาการเป็นอย่างไร ? งูสวัด อาการเริ่มต้นจะเริ่มจากในช่วงก่อนเกิดผื่น 1-3 วัน ผู้ป่วยจะมีปวดแปลบ มีอาการคันหรือแสบร้อนบริเวณเส้นประสาทเป็นพัก ๆ บางรายก็อาจจะเกิดอาการนี้ตลอดเวลา โดยเฉพาะบริเวณชายโครง ใบหน้า แขน หรือขาเพียงข้างเดียว ในช่วงแรกอาจจะทำให้สับสนว่าเป็นอาการปวดกล้ามเนื้อ แต่แท้จริงแล้วนั่นเป็นอาการของเส้นประสาทอักเสบจนทำให้เกิดอาการปวดบริเวณผิวหนังที่ติดกับเส้นประสาทนั่นเอง ทั้งนี้บางรายอาจจะมีอาการไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้ และท้องเสียร่วมด้วย หลังจากนั้นตุ่มน้ำจะเริ่มขึ้นบริเวณที่ปวดก่อนหน้า ซึ่งจะทยอยขึ้นมาเป็นจำนวนมากในช่วง 4 วันแรกที่เป็นงูสวัด แล้วจะค่อย ๆ แห้งตกสะเก็ดไปภายใน 7-10 วัน เมื่อสะเก็ดแผลหลุดออก อาการปวดก็จะเริ่มบรรเทาลง แต่ถ้าหากเป็นผู้ป่วยสูงอายุหรือผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำมาก ๆ ก็อาจจะมีอาการกินเวลานานเป็นเดือนกว่าจะหายเป็นปกติ 5. งูสวัด อีสุกอีใส และเริม แตกต่างกันอย่างไร ? เนื่องจากโรคอีสุกอีใสและโรคงูสวัดเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดเดียวกันอาจจะทำให้คนที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับโรคเข้าใจผิดได้ ส่วนโรคเริมก็ยังมีลักษณะตุ่มน้ำคล้ายกับงูสวัด จึงมีวิธีการสังเกตความแตกต่างดังนี้ค่ะ http://img.kapook.com/image/icon/48be2683.gif โรคอีสุกอีใส - อาการเริ่มแรกจะมีไข้ร่วมกับผื่นแดง และตุ่มน้ำใส ๆ กระจายตามลำตัว ใบหน้าตั้งแต่วันแรกที่มีไข้ ทั้งนี้อาจมีอาการคันร่วมด้วย http://img.kapook.com/image/icon/48be2683.gif โรคงูสวัด - ตุ่มน้ำจะเกิดขึ้นหลังจากมีอาการปวดแสบปวดร้อนบริเวณแนวเส้นประสาท 1-3 วัน โดยอาจะมีอาการไข้ร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้ แต่จะมีอาการคันบริเวณตุ่มน้ำ http://img.kapook.com/image/icon/48be2683.gif โรคเริม - โรคเริมเป็นอาการที่สังเกตได้ง่าย โดยจะมีตุ่มน้ำใสขึ้นหลายเม็ดเป็นหย่อม ๆ หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ มักเกิดขึ้นที่บริเวณเดียว ได้แก่ ริมฝีปาก แก้ม จมูก หู ตา ก้น หรืออวัยวะเพศ มักจะเกิดขึ้นซ้ำซาก และจะหายไปเอง หรือต้องทายาเพื่อให้ตุ่มน้ำยุบลง 6. งูสวัด เป็นกี่วันถึงหาย ? โดยปกติแล้วโรคงูสวัดจะสามารถหายไปได้ด้วยตัวเองภายในเวลา 10-15 วัน นับตั้งแต่เริ่มสำแดงอาการ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของผู้ป่วย ถ้าหากมีภูมิคุ้มกันที่ไม่แข็งแรงพอก็อาจจะทำให้อาการของโรคยาวนานขึ้น บางรายแม้ตุ่มน้ำจะยุบไปแล้วก็อาจจะมีอาการปวดตามแนวเส้นประสาทตามมา ซึ่งต้องใช้เวลาหลายเดือนหรืออาจจะยาวนานนับปีกว่าจะหายสนิทค่ะ
7. งูสวัด อาการแทรกซ้อนมีอะไรบ้าง อันตรายอย่างไร ?

โรคงูสวัดเป็นโรคที่ไม่อันตราย แต่ก็มีกรณีที่น่าเป็นห่วงเช่นกัน นั่นก็คือในกรณีที่มีภาวะแทรกซ้อน ซึ่งภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยก็คือ อาการปวดตามแนวเส้นประสาท หลังจากการติดเชื้อ โดยส่วนใหญ่จะพบได้ในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป บางรายอาจจะใช้เวลาไม่นานก็หาย แต่บางรายที่มีอาการรุนแรงอาจมีอาการปวดเรื้อรังหลายปี นอกจากนี้ก็ยังอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ได้อีก เช่น การติดเชื้อแบคทีเรีย ตาอักเสบ แผลที่กระจกตา ภาวะแทรกซ้อนที่หู ขณะที่ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำมาก ๆ อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงมากกว่าและแพร่กระจายได้ เช่น สมองอักเสบ หรือปอดอักเสบ แต่ก็เป็นอาการที่พบได้น้อย

8. งูสวัด รักษาอย่างไร?

โรคงูสวัดสามารถรักษาได้ด้วยยาต้านเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่าอะซัยโคลเวียร์ (acyclovir) ซึ่งเป็นยาที่สามารถรักษาได้ทั้งผู้ป่วยโรคอีสุกอีใส งูสวัด และโรคเริม โดยยาดังกล่าวมีทั้งแบบยาเม็ดแคปซูล ยาทา และยาฉีด ซึ่งจะต้องใช้ภายใต้การดูแลของแพทย์อย่างเคร่งครัด เนื่องจากยาชนิดนี้มีระยะเวลาออกฤทธิ์ที่สั้น และซึมเข้าสู่ร่างกายได้น้อย จึงจำเป็นต้องได้รับยาชนิดนี้ถี่กว่ายาทั่วไป โดยในการรักษาจะต้องได้รับยาอะซัยโคลเวียร์ขนาด 800 มิลลิกรัม วันละ 5 ครั้ง ในทุก ๆ 4 ชั่วโมง ยกเว้นเวลากลางคืน และต้องใช้ยาชนิดนี้ติดต่อกัน 7-10 วัน ส่วนยาฉีดนั้นก็จะต้องได้รับวันละ 5 ครั้ง ครั้งละ 500 มิลลิกรัมเข้าทางหลอดเลือดดำโดยตรง ระยะเวลาก็เท่ากับการรับประทานยา
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: