แกะรอยเศรษฐกิจและการค้าการลงทุน..สิงคโปร์โมเดลPosted in: ข้อมูลของแต่ล การแปล - แกะรอยเศรษฐกิจและการค้าการลงทุน..สิงคโปร์โมเดลPosted in: ข้อมูลของแต่ล อังกฤษ วิธีการพูด

แกะรอยเศรษฐกิจและการค้าการลงทุน..สิ

แกะรอยเศรษฐกิจและการค้าการลงทุน..สิงคโปร์โมเดล
Posted in: ข้อมูลของแต่ละประเทศในAEC, บทความ AEC สำคัญที่ควรอ่าน 11 มีนาคม 2557
การเป็นประชาคมอาเซียนในอนาคตอันใกล้จะตามมาด้วยการเปิดเสรีด้านการลงทุนในแถบภูมิภาคนี้ ซึ่งจะส่งผลต่อการลงทุนในภูมิภาคนี้อย่างแน่นอน หลายประเทศทั่วโลกมองกลุ่มประเทศอาเซียนว่าน่าสนใจลงทุน และแต่ละประเทศก็มีจุดดีและจุดด้อยที่แตกต่างกันไป การที่สิงคโปร์สามารถก้าวมาเป็นผู้นำด้านการค้า การลงทุนและการเงินของอาเซียน ไม่ใช่เป็นเพราะเพิ่งเริ่มวางแผนและทำเมื่อไม่กี่ปีมานี้ แต่เป็นการวางแผนและได้เดินตามแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาประเทศมาเป็นเวลานานถึงกึ่งศตวรรษ

สิงคโปร์เป็นประเทศเกิดใหม่เมื่อประมาณ 50 กว่าปีมานี่เอง คือ ตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 1960 รัฐบาลสิงคโปร์ สมัยของนายลี กวน ยู นายกรัฐมนตรีคนแรกได้มองเห็นถึงข้อจำกัดของสิงคโปร์ที่มีประชากรน้อยแต่มีความหลากหลายเชื้อชาติของประชากร (ส่วนใหญ่มีเชื้อสายจีน) มีขนาดตลาดเล็กทำให้มีกำลังซื้อจำกัด มีทรัพยากรธรรมชาติน้อย แม้แต่น้ำดื่มในขณะนั้นก็ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ แต่ข้อดีของสิงคโปร์คือมีมันสมองหรือทรัพยากรบุคคลมาก ประกอบกับสิงคโปร์เป็นประเทศเกิดใหม่ รัฐบาลจึงต้องการสร้างเอกลักษณ์และหาทางอยู่รอดในการหารายได้มาพัฒนาประเทศ นายลี กวน ยู จึงได้วางยุทธศาสตร์ภายใต้จุดแข็งและความได้เปรียบของสิงคโปร์ 2 ประการ คือ

1.ทำเลที่ตั้งที่อยู่ใต้สุดของแหลมมลายู ทำให้มีความเหมาะสมแก่การเป็นเมืองท่าทางการขนส่งคมนาคมทางทะเลเชื่อมโยงระหว่างประเทศในเอเชียกับยุโรปและแอฟริกา

2.ใช้ความสามารถทางการค้าขายเพื่อขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจการค้าเสรี โดยสร้างกลไกและโครงสร้างรัฐเพื่อสนับสนุนและรองรับการเป็นศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุนของภูมิภาค จะเห็นได้ว่าในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ มีนโยบายพัฒนาให้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุนมาตั้งแต่แรกเริ่ม โดยสร้างกลไกภาครัฐเพื่อสนับสนุนและรองรับการเป็นศูนย์กลางทางการเงินของภูมิภาค การดำเนินนโยบายศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุนเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปแต่ทว่าสัมฤทธิ์ผล ภายในปี 1980 สิงคโปร์กลายเป็นศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุนที่สำคัญของภูมิภาค และปัจจุบันสิงคโปร์เป็นแหล่งรวมสถาบันการเงินชั้นนำจากทั่วโลก และยังเป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่สำคัญแห่งหนึ่ง ของโลกอีกด้วย

ในยุคถัดมาภายใต้การนำของนายโก จ๊ก ตง เป็นยุคที่เศรษฐกิจสิงคโปร์มีความรุ่งเรืองมาก รัฐบาลยังมุ่งเน้นให้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางธุรกิจการค้าและการเงินเช่นนโยบายเดิมและเป็นประตูสู่ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และในยุคนี้แม้ว่าสิงคโปร์จะเผชิญผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจในเอเชียอยู่บ้างแต่ก็สามารถ ผ่านพ้นมาได้ ทั้งยังมีความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นด้วย นอกจากนี้ สิงคโปร์ได้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมาอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ทำให้กลายเป็นประเทศที่มีระบบคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ ที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคนี้ ประกอบกับสิงคโปร์เป็นหนึ่งในประเทศที่มีการขนส่งทางเรือระหว่างประเทศมากที่สุดในโลก จึงเป็นผู้นำในภูมิภาคด้านการต่อเรือและซ่อมแซมเรือ ทั้งยังได้รับการยอมรับให้เป็นศูนย์กลางทางการบินที่สำคัญในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ส่วนด้านการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมการผลิต

ในช่วงแรกสิงคโปร์เน้นการพัฒนาผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ แต่เมื่อเกิดวิกฤติดอตคอม(ปี 2003) รัฐบาลสิงคโปร์ได้หันมาส่งเสริมสินค้าไฮเทคระดับสูง เช่น ด้านระบบสารสนเทศและข้อมูล ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ด้านเคมี และอื่นๆ ซึ่งไม่อ่อนไหวไปตามภาวะของตลาด นอกจากนี้ รัฐบาลสิงคโปร์ได้ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ความสามารถในเทคโนโลยีใหม่ๆ มุ่งเน้นให้อุตสาหกรรมการผลิตทั่วๆ ไปปรับเปลี่ยนตนเองให้เป็นอุตสาหกรรมที่มีความเป็นเลิศทางเทคโนโลยีหรือใช้ความรู้/ทักษะขั้นสูง ทั้งยังพัฒนาบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมให้เป็นแรงงานที่มีทักษะ(Skilled Labor) ทำให้เป็นที่ต้องการของตลาดและมีค่าแรงที่สูงขึ้นตามลำดับ และเป็นการลดการพึ่งพาแรงงานต่างชาติ

ในยุคปัจจุบัน นายลี เซียน ลุง นายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์ได้ตระหนักดีว่าความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจของสิงคโปร์ รัฐบาลสิงคโปร์ยังมุ่งเน้นการกระตุ้นศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจทั้งในประเทศและระดับภูมิภาค ในภาคการพัฒนาธุรกิจโดยทั่วไปรัฐบาลมี นโยบายเร่งสร้างพันธมิตรทางการค้ามากมายและมีนโยบายสนับสนุนให้นักธุรกิจชาวสิงคโปร์ออกไปลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น เช่น มีการยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บริษัทที่ไปลงทุนนอกประเทศ รัฐบาลส่งเสริมให้บริษัทสิงคโปร์ไปลงทุนในต่างประเทศสูงมาก เช่น เน้นการลงทุนใน พม่า อินโดนีเซีย และมาเลเชีย ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพภาคการผลิตสูงและต้นทุนถูก และในขณะเดียวกันก็พยายามดึงดูดการลงทุนของต่างชาติเข้ามาในประเทศให้มากขึ้นด้วย จะเห็นได้ว่ามีบริษัทข้ามชาติสามารถจัดตั้ง Holding Company ในสิงคโปร์แต่นำเงินไปลงทุนในประเทศที่สามอีกต่อได้เพื่อลดภาระภาษี ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตภายในประเทศ แม้จะมีแนวโน้มลดลงและปรับเปลี่ยนไปเป็นการลงทุนด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น สาขา อิเล็กทรอนิกส์ ปิโตรเคมี เทคโนโลยีชีวภาพ และวิศวกรรมขั้นสูง เป็นต้น รัฐบาลสิงคโปร์ยุคนี้ให้ความสำคัญกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์ควบคู่กันไปด้วย จึงเป็นแรงสนับสนุนให้บริษัทใหญ่ๆ จากทั่วโลกเข้ามาตั้งสำนักงานในสิงคโปร์

นอกจากนี้ รัฐบาลส่งเสริมการวิจัยและการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ เพื่อสร้างสรรค์ให้สิงคโปร์เป็นผู้นำและเป็นศูนย์กลางในเรื่องการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ขั้นสูงแห่งหนึ่งของโลกทั้งด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อดิจิตอล และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีเป้าหมายให้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางของธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อดิจิตัลภายในปี 2015 (พ.ศ. 2558)

ข้อเด่นอีกประการหนึ่งคือ สิงคโปร์มีความเชี่ยวชาญในภาคของอุตสาหกรรมบริการโดยเฉพาะการให้บริการทางการเงินและการท่องเที่ยวมาเป็นเวลายาวนาน โดยกว่า 60% ของเม็ดเงินการลงทุนอยู่ในภาคบริการทางการเงินและการท่องเที่ยว รัฐบาลให้ความสำคัญกับภาคบริการเป็นอย่างมาก โดยเน้นภาคการค้า การลงทุ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Trace the economy and trade, investment .. Singapore model.Posted in: information of each country in the AEC, AEC articles important should read March 11, 2014As the ASEAN community in the near future will be followed by investment liberalization in the region, which will affect investment in this region, certainly. Many countries around the world that ASEAN mongklum investment more attractive, and each country has good points and bad points that vary. The Singapore leader to step into trade, investment and Finance of ASEAN. Not because he has just started to plan and do this a few years ago, but the planning and strategy is planned to travel the country for a long time to half-century.Singapore is a country with more than 50 years about emerging from this is that since the late 1990s, Singapore Government, 1960. Mr. Lee Guan Yu's first Prime Minister, has been seen as a limitation of the Singapore population is diverse, but the race of the population (mainly Chinese natives) are much smaller markets have limited purchasing power. There are few natural resources, and even drinking water, while the need to import from abroad. But Singapore's advantages is that it is the brain or human resources with many emerging economies as Singapore Government must find a way to create a unique survival in revenue from developing countries. Mr. Lee Guan Yu was dropping strategy under the strengths and advantages of Singapore 2 common ones:1. the location of Malay Peninsula Make it appropriate to finance port transport maritime transport links between Europe and Asia, with countries in Africa.2. use of the trade to propel the economy to free trade by creating mechanisms and structures to support and serve as a financial center and capital of the region. Can be seen that in terms of economic development of the country. Policy development, Singapore as a financial center and investment since the beginning by creating mechanisms for the Government to support and serve as a regional financial center. Policy Action Center financial and investment is gradually but succeed. In 1980, Singapore has become a financial center and the region's major investment and now Singapore is a leading financial institutions from all over the world, and is also the center of foreign exchange one of the world's important as well.In the next era under the leadership of Mr. Ko Chok Tong as Singapore economy era with prosperity. The Government also focused on Singapore as a hub for business, trade and financial services, such as the original policy, and as a gateway to the Asia-Pacific region, and in this era, although Singapore will face the impact of the economic crisis in Asia but can also be past with increasing economic strength. In addition, Singapore has developed the infrastructure to continuously and effectively. To become a country with a system of transportation and logistics is one of the best in the region, with Singapore as one of the countries that are shipping most international in the world. It is a regional leader in the shipbuilding and ship repairs, both to be accepted as a major aviation hub in the Asia-Pacific region. The development of industrial production.ในช่วงแรกสิงคโปร์เน้นการพัฒนาผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ แต่เมื่อเกิดวิกฤติดอตคอม(ปี 2003) รัฐบาลสิงคโปร์ได้หันมาส่งเสริมสินค้าไฮเทคระดับสูง เช่น ด้านระบบสารสนเทศและข้อมูล ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ด้านเคมี และอื่นๆ ซึ่งไม่อ่อนไหวไปตามภาวะของตลาด นอกจากนี้ รัฐบาลสิงคโปร์ได้ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ความสามารถในเทคโนโลยีใหม่ๆ มุ่งเน้นให้อุตสาหกรรมการผลิตทั่วๆ ไปปรับเปลี่ยนตนเองให้เป็นอุตสาหกรรมที่มีความเป็นเลิศทางเทคโนโลยีหรือใช้ความรู้/ทักษะขั้นสูง ทั้งยังพัฒนาบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมให้เป็นแรงงานที่มีทักษะ(Skilled Labor) ทำให้เป็นที่ต้องการของตลาดและมีค่าแรงที่สูงขึ้นตามลำดับ และเป็นการลดการพึ่งพาแรงงานต่างชาติในยุคปัจจุบัน นายลี เซียน ลุง นายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์ได้ตระหนักดีว่าความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจของสิงคโปร์ รัฐบาลสิงคโปร์ยังมุ่งเน้นการกระตุ้นศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจทั้งในประเทศและระดับภูมิภาค ในภาคการพัฒนาธุรกิจโดยทั่วไปรัฐบาลมี นโยบายเร่งสร้างพันธมิตรทางการค้ามากมายและมีนโยบายสนับสนุนให้นักธุรกิจชาวสิงคโปร์ออกไปลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น เช่น มีการยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บริษัทที่ไปลงทุนนอกประเทศ รัฐบาลส่งเสริมให้บริษัทสิงคโปร์ไปลงทุนในต่างประเทศสูงมาก เช่น เน้นการลงทุนใน พม่า อินโดนีเซีย และมาเลเชีย ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพภาคการผลิตสูงและต้นทุนถูก และในขณะเดียวกันก็พยายามดึงดูดการลงทุนของต่างชาติเข้ามาในประเทศให้มากขึ้นด้วย จะเห็นได้ว่ามีบริษัทข้ามชาติสามารถจัดตั้ง Holding Company ในสิงคโปร์แต่นำเงินไปลงทุนในประเทศที่สามอีกต่อได้เพื่อลดภาระภาษี ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตภายในประเทศ แม้จะมีแนวโน้มลดลงและปรับเปลี่ยนไปเป็นการลงทุนด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น สาขา อิเล็กทรอนิกส์ ปิโตรเคมี เทคโนโลยีชีวภาพ และวิศวกรรมขั้นสูง เป็นต้น รัฐบาลสิงคโปร์ยุคนี้ให้ความสำคัญกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์ควบคู่กันไปด้วย จึงเป็นแรงสนับสนุนให้บริษัทใหญ่ๆ จากทั่วโลกเข้ามาตั้งสำนักงานในสิงคโปร์In addition Government to promote research and development of new knowledge, to creative, Singapore as a leader and as a hub for research and development, one of the world's most advanced products and technology. Digital media and environmental protection and has the goal to Singapore as a hub of business, information technology and digital media, by the year 2015 (2558 (2015))Another highlight is the Singapore specializes in the sector of the industry services, especially financial services, and tourism, as a long time doikwa 60% of the money invested in the financial services sectors, and tourism. The Government give priority to the sectors very seriously. With an emphasis on the trade sectors oriented
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
แกะรอยเศรษฐกิจและการค้าการลงทุน..สิงคโปร์โมเดล
Posted in: ข้อมูลของแต่ละประเทศในAEC, บทความ AEC สำคัญที่ควรอ่าน 11 มีนาคม 2557
การเป็นประชาคมอาเซียนในอนาคตอันใกล้จะตามมาด้วยการเปิดเสรีด้านการลงทุนในแถบภูมิภาคนี้ ซึ่งจะส่งผลต่อการลงทุนในภูมิภาคนี้อย่างแน่นอน หลายประเทศทั่วโลกมองกลุ่มประเทศอาเซียนว่าน่าสนใจลงทุน และแต่ละประเทศก็มีจุดดีและจุดด้อยที่แตกต่างกันไป การที่สิงคโปร์สามารถก้าวมาเป็นผู้นำด้านการค้า การลงทุนและการเงินของอาเซียน ไม่ใช่เป็นเพราะเพิ่งเริ่มวางแผนและทำเมื่อไม่กี่ปีมานี้ แต่เป็นการวางแผนและได้เดินตามแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาประเทศมาเป็นเวลานานถึงกึ่งศตวรรษ

สิงคโปร์เป็นประเทศเกิดใหม่เมื่อประมาณ 50 กว่าปีมานี่เอง คือ ตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 1960 รัฐบาลสิงคโปร์ สมัยของนายลี กวน ยู นายกรัฐมนตรีคนแรกได้มองเห็นถึงข้อจำกัดของสิงคโปร์ที่มีประชากรน้อยแต่มีความหลากหลายเชื้อชาติของประชากร (ส่วนใหญ่มีเชื้อสายจีน) มีขนาดตลาดเล็กทำให้มีกำลังซื้อจำกัด มีทรัพยากรธรรมชาติน้อย แม้แต่น้ำดื่มในขณะนั้นก็ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ แต่ข้อดีของสิงคโปร์คือมีมันสมองหรือทรัพยากรบุคคลมาก ประกอบกับสิงคโปร์เป็นประเทศเกิดใหม่ รัฐบาลจึงต้องการสร้างเอกลักษณ์และหาทางอยู่รอดในการหารายได้มาพัฒนาประเทศ นายลี กวน ยู จึงได้วางยุทธศาสตร์ภายใต้จุดแข็งและความได้เปรียบของสิงคโปร์ 2 ประการ คือ

1.ทำเลที่ตั้งที่อยู่ใต้สุดของแหลมมลายู ทำให้มีความเหมาะสมแก่การเป็นเมืองท่าทางการขนส่งคมนาคมทางทะเลเชื่อมโยงระหว่างประเทศในเอเชียกับยุโรปและแอฟริกา

2.ใช้ความสามารถทางการค้าขายเพื่อขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจการค้าเสรี โดยสร้างกลไกและโครงสร้างรัฐเพื่อสนับสนุนและรองรับการเป็นศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุนของภูมิภาค จะเห็นได้ว่าในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ มีนโยบายพัฒนาให้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุนมาตั้งแต่แรกเริ่ม โดยสร้างกลไกภาครัฐเพื่อสนับสนุนและรองรับการเป็นศูนย์กลางทางการเงินของภูมิภาค การดำเนินนโยบายศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุนเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปแต่ทว่าสัมฤทธิ์ผล ภายในปี 1980 สิงคโปร์กลายเป็นศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุนที่สำคัญของภูมิภาค และปัจจุบันสิงคโปร์เป็นแหล่งรวมสถาบันการเงินชั้นนำจากทั่วโลก และยังเป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่สำคัญแห่งหนึ่ง ของโลกอีกด้วย

ในยุคถัดมาภายใต้การนำของนายโก จ๊ก ตง เป็นยุคที่เศรษฐกิจสิงคโปร์มีความรุ่งเรืองมาก รัฐบาลยังมุ่งเน้นให้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางธุรกิจการค้าและการเงินเช่นนโยบายเดิมและเป็นประตูสู่ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และในยุคนี้แม้ว่าสิงคโปร์จะเผชิญผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจในเอเชียอยู่บ้างแต่ก็สามารถ ผ่านพ้นมาได้ ทั้งยังมีความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นด้วย นอกจากนี้ สิงคโปร์ได้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมาอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ทำให้กลายเป็นประเทศที่มีระบบคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ ที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคนี้ ประกอบกับสิงคโปร์เป็นหนึ่งในประเทศที่มีการขนส่งทางเรือระหว่างประเทศมากที่สุดในโลก จึงเป็นผู้นำในภูมิภาคด้านการต่อเรือและซ่อมแซมเรือ ทั้งยังได้รับการยอมรับให้เป็นศูนย์กลางทางการบินที่สำคัญในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ส่วนด้านการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมการผลิต

ในช่วงแรกสิงคโปร์เน้นการพัฒนาผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ แต่เมื่อเกิดวิกฤติดอตคอม(ปี 2003) รัฐบาลสิงคโปร์ได้หันมาส่งเสริมสินค้าไฮเทคระดับสูง เช่น ด้านระบบสารสนเทศและข้อมูล ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ด้านเคมี และอื่นๆ ซึ่งไม่อ่อนไหวไปตามภาวะของตลาด นอกจากนี้ รัฐบาลสิงคโปร์ได้ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ความสามารถในเทคโนโลยีใหม่ๆ มุ่งเน้นให้อุตสาหกรรมการผลิตทั่วๆ ไปปรับเปลี่ยนตนเองให้เป็นอุตสาหกรรมที่มีความเป็นเลิศทางเทคโนโลยีหรือใช้ความรู้/ทักษะขั้นสูง ทั้งยังพัฒนาบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมให้เป็นแรงงานที่มีทักษะ(Skilled Labor) ทำให้เป็นที่ต้องการของตลาดและมีค่าแรงที่สูงขึ้นตามลำดับ และเป็นการลดการพึ่งพาแรงงานต่างชาติ

ในยุคปัจจุบัน นายลี เซียน ลุง นายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์ได้ตระหนักดีว่าความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจของสิงคโปร์ รัฐบาลสิงคโปร์ยังมุ่งเน้นการกระตุ้นศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจทั้งในประเทศและระดับภูมิภาค ในภาคการพัฒนาธุรกิจโดยทั่วไปรัฐบาลมี นโยบายเร่งสร้างพันธมิตรทางการค้ามากมายและมีนโยบายสนับสนุนให้นักธุรกิจชาวสิงคโปร์ออกไปลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น เช่น มีการยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บริษัทที่ไปลงทุนนอกประเทศ รัฐบาลส่งเสริมให้บริษัทสิงคโปร์ไปลงทุนในต่างประเทศสูงมาก เช่น เน้นการลงทุนใน พม่า อินโดนีเซีย และมาเลเชีย ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพภาคการผลิตสูงและต้นทุนถูก และในขณะเดียวกันก็พยายามดึงดูดการลงทุนของต่างชาติเข้ามาในประเทศให้มากขึ้นด้วย จะเห็นได้ว่ามีบริษัทข้ามชาติสามารถจัดตั้ง Holding Company ในสิงคโปร์แต่นำเงินไปลงทุนในประเทศที่สามอีกต่อได้เพื่อลดภาระภาษี ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตภายในประเทศ แม้จะมีแนวโน้มลดลงและปรับเปลี่ยนไปเป็นการลงทุนด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น สาขา อิเล็กทรอนิกส์ ปิโตรเคมี เทคโนโลยีชีวภาพ และวิศวกรรมขั้นสูง เป็นต้น รัฐบาลสิงคโปร์ยุคนี้ให้ความสำคัญกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์ควบคู่กันไปด้วย จึงเป็นแรงสนับสนุนให้บริษัทใหญ่ๆ จากทั่วโลกเข้ามาตั้งสำนักงานในสิงคโปร์

นอกจากนี้ รัฐบาลส่งเสริมการวิจัยและการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ เพื่อสร้างสรรค์ให้สิงคโปร์เป็นผู้นำและเป็นศูนย์กลางในเรื่องการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ขั้นสูงแห่งหนึ่งของโลกทั้งด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อดิจิตอล และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีเป้าหมายให้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางของธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อดิจิตัลภายในปี 2015 (พ.ศ. 2558)

ข้อเด่นอีกประการหนึ่งคือ สิงคโปร์มีความเชี่ยวชาญในภาคของอุตสาหกรรมบริการโดยเฉพาะการให้บริการทางการเงินและการท่องเที่ยวมาเป็นเวลายาวนาน โดยกว่า 60% ของเม็ดเงินการลงทุนอยู่ในภาคบริการทางการเงินและการท่องเที่ยว รัฐบาลให้ความสำคัญกับภาคบริการเป็นอย่างมาก โดยเน้นภาคการค้า การลงทุ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Track the economic and trade investment... Singapore model
Posted in: information of each country in the AEC, articles AEC สำคัญที่ should read 11 March. 2557
.The Asian community in the near future will be followed by the liberalization of investment in the region. This will affect the investment in the region. Many countries around the world, looking at the ASEAN attractive investment.The Singapore can step to the trade. Investment and finance of ASEAN. It's not because just started planning and in the last few years.
.Singapore is a country born about 50 over years. Since the end of the decade 1960 Singapore government era of Mr. Lee Kuan Yu.(most of Chinese descent). A small market size is also limited has little natural resources. Even the water in that moment of imported from overseas. But the advantages of Singapore is have brains, or human resources.The government wanted to create a unique and find a way to survive in finding revenue comes from developed countries. Mr. Lee Kuan Yu. The strategy under the strengths and advantages of Singapore 2 reasons. Is
.
1. Location under the end of Malaya. Make appropriate to a port transport maritime international transport links in Europe and Asia and Africa

2.The ability to trade sales driven economy, free trade The mechanism and structure of the state to support and support the financial hub and the investment of the region.The development policy for Singapore financial hub and investment came from the beginning. The mechanism of government to support and support the financial hub of the region.Within a year 1980 Singapore becomes financial center and significant investment of the region. Singapore is a source of current and financial from all over the world.Of the world as well
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: