Learning management, integrated life science to promote the ability to transfer the knowledge of science students and Muslim elementary school. *Learning Organization Through Integrating Science with the Way of Life to Enhance Scientific Knowledge Transferring Ability of Primary Level Muslim StudentsThe results of this research 1. develop management plans integrated with science learning a way of life, to promote the transfer of scientific knowledge, the Muslim student grade levels 4-6. The study and analysis of the information content, the consistency of the Quran with relation to scientific principles, and Mano is the analysis of the content from the book Al-Quran by relying on the interpretation of the contents, and then select the specific related issues and compliance with the 8 strand, citizenship, science learning in elementary school years 4-6 as basic education core curriculum all 2551 (2008) poetry in the Quran with relation to scientific principles, and Mano, number 237 Aya (verse), which can be classified as a learning unit has 6 units of learning, learning plans, 21. 2. the results of the study, the ability to transfer the knowledge and the scientific level of the Muslim students. Grade 4-6 Researchers presented the findings from the observation and interview candidates by citizenship follows. 1. strand 1 organisms with living processes. Unit 1 learning magic creatures. Researchers found that students can transfer their knowledge from lessons to the real situations in daily life by understanding. Knowledge gained in the schools to expand their impact, with a family like the introduction to a mother with breast milk instead of powdered milk. Eating foods cooked to prevent parasitic diseases and wash vegetables thoroughly by rinsing water flow through these is a practical method, which corresponds to the principles of a religious Muslim family and way of life of the students. 2. สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สิ่งแวดล้อม เป็นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ เรื่องสิ่งแวดล้อม และการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ ที่สอดคล้องกับหลักการอิสลาม ผู้วิจัยพบว่า นักเรียนถ่ายโอนความรู้จากบทเรียนไปยังสถานการณ์จริงในชีวิตประจำวัน ในเรื่องการอาบน้ำละหมาด(Ablution) มีความเข้าใจในเรื่องปริมาณน้ำที่ใช้ในการอาบน้ำละหมาดแต่ละครั้ง ตระหนักถึงคุณค่าและใช้น้ำอย่างประหยัด โดยสังเกตจากการละหมาดในช่วงเวลาซุฮฺรี (Dhuhr) และเวลาอัศริ (Asr) ที่อาคารละหมาดของโรงเรียน ซึ่งนักเรียนจะอาบน้ำละหมาด อย่างประหยัดทุกครั้งพร้อมกับตักเตือนน้อง ๆ และเพื่อน ๆ เรื่องการประหยัดน้ำในขณะอาบน้ำละหมาดอีกด้วย หลังจากนั้นจะนำน้ำที่เหลือจากการอาบน้ำละหมาดไปใช้รดน้ำต้นมะนาว และผักต่างๆ ที่ปลูกไว้ในสวนสมุนไพรบริเวณโรงเรียน3. สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สารในชีวิตประจำวัน เป็นการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ เข้ากับวิถีชีวิตมุสลิมที่เกี่ยวข้องกับสารในชีวิตประจำวันอย่างชัดเจน จากการสัมภาษณ์ผู้เรียน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในโรงเรียน พบว่า ผู้เรียนบางกลุ่มยังขาดความรู้ และความตระหนักในเรื่อง การเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่ถูกหลักอนามัย และถูกหลักศาสนา นักเรียนไม่ได้พิจารณา และตระหนักถึงความสำคัญของการอ่านฉลากผลิตภัณฑ์บนซองขนม และไม่ทราบว่า เบคอน คืออะไร ทำมาจากอะไร มุสลิมรับประทานได้หรือไม่ และฮาลาล (Halal) คืออะไร มีความสำคัญต่อมุสลิมอย่างไร นักเรียนเพียงแค่ดูโฆษณาและเห็นสีสันสวยงามของบรรจุภัณฑ์เท่านั้น นักเรียนบางกลุ่มทราบแค่เพียงว่า มุสลิมไม่สามารถรับประทานอาหารที่มีส่วนผสมของสุกร แต่ไม่ทราบว่าอาหารฮาลาลเป็นอย่างไร ผู้วิจัยพบว่า หลังจากที่นักเรียนได้เรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์กับวิถีชีวิตแล้ว นักเรียนมีความตระหนักในการเลือกซื้อขนมขบเคี้ยวประเภทต่าง ๆ มากขึ้น โดยสังเกตได้จากการอ่านฉลากหรือซองขนมเพื่อให้ทราบถึงส่วนผสม และส่วนประกอบสำคัญในการผลิต ตลอดจนเจ้าหน้าที่สหกรณ์ภายในโรงเรียนยังสามารถใช้เป็นข้อมูลในการเลือกซื้อสินค้าที่จะนำมาขายให้แก่นักเรียนเพื่อให้ปลอดภัยจากสิ่งหะรอม (Prohibite) ได้อีกด้วย สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ลักษณะภูมิอากาศ และหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ลักษณะภูมิประเทศ เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการนำความรู้ไปใช้ในวิถีชีวิตด้านการเกษตร ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนถ่ายโอนความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปสู่วิถีชีวิตโดยนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการเพาะปลูกพืช นักเรียนสามารถขยายพันธุ์พืช โดยเฉพาะการเพาะพันธุ์กล้ายางพารา และปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุ โดยใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพที่ทำขึ้นเอง นอกจากนี้ นักเรียนบางกลุ่มก็สามารถนำผลผลิตทางการเกษตรที่ได้ไปขาย สร้างรายได้ให้กับตนเอง และครอบครัวอีกด้วย สอดคล้องกับปรัชญาโรงเรียนที่ดำเนินงานโดยยึดแนวทางตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ภายในบริเวณโรงเรียนมีสวนสมุนไพร สวนผักสวนครัว แปลงเกษตรสำหรับให้นักเรียนปลูกผักต่าง ๆ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ดาราศาสตร์ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตมุสลิมในเรื่องการละหมาด (praying) และการถือศีลอด (fasting) ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการปฏิบัติศาสนกิจของมุสลิมทุกคน ในหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ดาราศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับการถือศีลอด ผู้เรียนสามารถอธิบายการเกิดข้างขึ้น ข้างแรม โดยถ่ายโอนความรู้ไปสู่วิถีชีวิตเรื่องการถือศีลอดโดยใช้การสังเกตจันทร์เสี้ยว (ฮิลาล-Hilal) ดวงจันทร์ข้างขึ้นอายุประมาณ 0-2 วัน ถ้าเห็นจันทร์เสี้ยว ณ วันที่ 29 ของเดือนก่อนนั้น จึงจะนับวันรุ่งขึ้นว่าขึ้นวันที่ 1 ของเดือนใหม่ ตามปฏิทินอิสลาม นักเรียนสามารถสังเกตทิศโดยใช้เงาเพื่อหาทิศสำหรับละหมาด เป็นต้นDiscussion of results. 1. the development of the plan.
การแปล กรุณารอสักครู่..