1.ปัญหาและสาเหตุของการเกิดน้ำท่วม                  ปรากฏการณ์นี้เป็นปั การแปล - 1.ปัญหาและสาเหตุของการเกิดน้ำท่วม                  ปรากฏการณ์นี้เป็นปั อังกฤษ วิธีการพูด

1.ปัญหาและสาเหตุของการเกิดน้ำท่วม  

1.ปัญหาและสาเหตุของการเกิดน้ำท่วม
                  ปรากฏการณ์นี้เป็นปัญหาที่ อยู่คู่กับสังคมไทยมานานและนับวันดูเหมือนจะทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ แม้จะไม่ได้สร้างความเสียหายร้ายแรงเหมือนแผ่นดินไหวหรือไฟไหม้ แต่ก็ทำให้มีการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินเป็นจำนวนมากในหลายๆเหตุการณ์ ที่เคยเกิดขึ้นในอดีต หรือเช่นกรณีที่กำลังเกิดขึ้นในพื้นที่หลายจังหวัดทางภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคกลาง ได้แก่ ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง อยุธยา ปทุมธานี เป็นต้น
หากลองวิเคราะห์ปัญหาที่ทำ ให้เกิดน้ำท่วมในบ้านเราที่ประสบกันอยู่เกือบทุกปีมากบ้างน้อยบ้างดังที่ กล่าวมาพบว่าน่าจะมาจากปัจจัยหลัก 2 อย่าง คือ 1. ธรรมชาติ 2. มนุษย์ อันเป็นที่มาของสาเหตุต่างๆดังนี้ คือ

1.1 ธรรมชาติก่อให้เกิดปริมาณฝนที่ตกหนักถึงหนักมากติดต่อกันในช่วงฤดูฝน
จากการที่ประเทศไทยของเราตั้งอยู่ในเขต มรสุม(Moonsoon) มีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสลับกันพัดผ่านเกือบ ตลอดปี อิทธิพลของลมมรสุมทั้งสองได้ก่อให้เกิดผลต่างกันดังนี้ คือ
อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัด จากมหาสมุทรอินเดียหรืออ่าวเบงกอลในช่วงประมาณเดือนพฤษภาคมไปจนถึงประมาณ กลางเดือนตุลาคม จะก่อให้เกิดฝนตกหนักกระจายเกือบทั่วทุกภาคของประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้ฝั่งตะวันออกที่อาจมีฝนตกประปรายเพราะมีเทือกเขาตะนาวศรีปิด กั้นอิทธิพลมรสุมเอาไว้ ช่วงเวลาดังกล่าวจึงเรียกว่าฤดูฝนของประเทศไทย
ส่วนลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดมา จากแถบไซบีเรียในช่วงประมาณกลางเดือนตุลาคมไปจนถึงเดือนกุมภาพันธ์แม้จะก่อ ให้เกิดฤดูหนาวขึ้นในส่วนตอนบนของประเทศแต่ก็ก่อให้เกิดฝนตกหนักและน้ำท่วม ในบริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันออกตั้งแต่จังหวัดชุมพรถึงนราธิวาสเกือบทุกปีเช่น เดียวกัน
นอกจากฝนที่เกิดจากลมมรสุมทั้งสองดังที่ กล่าวแล้ว ยังมีอิทธิพลอื่นๆที่สำคัญ ได้แก่ อิทธิพลของร่องความกดอากาศ(Through) อิทธิพลของพายุหมุนหรือหย่อมความกดอากาศต่ำ(Depression)ซึ่งมักเกิดขึ้นใน ช่วงฤดูฝน เมื่อผสมรวมกันจึงทำให้ฝนตกต่อเนื่องโดยเฉลี่ยประมาณ 1500  มิลลิเมตรต่อปี และหากบางปีมีปรากฏการณ์ลานิญ่าเข้ามาด้วยก็จะเป็นสาเหตุให้ฝนตกหนักมากขึ้น อันเป็นที่มาของการเกิดน้ำหลาก น้ำท่วมอย่างรุนแรง

1.2 การขยายตัวอย่างขาดการวางแผนของชุมชนเมืองต่างๆทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
ในอดีตมักมีการตั้งบ้านเรือนหรือชุมชน ต่างๆตามริมแม่น้ำ เพราะน้ำเป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำรงชีวิต แต่ด้วยภูมิปัญญาของคนยุคก่อนที่เฝ้าสังเกตและเรียนรู้ที่จะอยู่กับ ธรรมชาติ ดังนั้น การสร้างบ้านเรือนริมน้ำจึงมักมีการยกใต้ถุนสูงให้ตัวบ้านพ้นระดับน้ำหลาก สูงสุดที่เคยท่วมเพื่อหนีปัญหา และแม้น้ำจะท่วมใต้ถุนเรือนก็ไม่เดือดร้อนเพราะมีเรือพายหรือเรือแจวช่วยใน การสัญจรไปไหนมาไหนได้ แถมยังมีการจัดงานรื่นเริง เช่น การเผาเทียนเล่นไฟเป็นที่สนุกสนานไม่ทุกข์ร้อน
เวลาผ่านไปชุมชนดังกล่าวมีการขยายตัวขึ้น เรื่อยๆตามจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น แต่มาระยะหลังผู้คนใส่ใจและเรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติน้อยลงและหันไปใส่ ใจกับเศรษฐกิจและความมั่งคั่งตามวิถีตะวันตกมากขึ้น วิถีชีวิตและความเป็นอยู่เปลี่ยนแปลงไป สภาพบ้านเรือนเปลี่ยนจากวิถีไทยแบบบ้านมีใต้ถุนสูงไม่เดือดร้อนแม้ถูกน้ำ ท่วมมาเป็นสไตล์ยุโรปหรือตะวันตก เน้นความสวยงามของรูปทรงที่แปลกตาทั้งบ้านชั้นเดียว บ้านสองชั้นที่เห็นกันอยู่ทั่วไปในปัจจุบันโดยทุกคนมิได้ตระหนักถึงปัญหาที่ จะตามมาในอนาคต

1.3 การถมที่สร้างบ้านจัดสรรหรือขยายเมืองไปในทิศทางที่เป็นที่ต่ำหรือที่ลุ่ม
มีการสร้างบ้านจัดสรรโดยการเอาดินไปถมที่ ลุ่มที่ราคาถูกแล้วสร้างบ้านขายในราคาแพง บ้านจัดสรรยุคก่อนๆที่ถมที่ลุ่มสร้างเสร็จใหม่ๆน้ำไม่เคยท่วมเพราะข้างเคียง หรือรอบๆยังมีแหล่งรองรับน้ำฝนเอาไว้ได้อย่างพอเพียง แต่เมื่อคนอื่น ๆ มองเห็นโอกาสของความมั่งคั่งบ้างต่างก็เร่งถมเร่งสร้าง และทุกคนก็กะหนีเอาตัวรอดโดยการถมที่ของตัวเองให้สูงกว่าข้างเคียงเข้าไว้ คนอื่นจะเป็นอย่างไรก็ช่างขอที่ของตัวเองน้ำไม่ท่วมเป็นใช้ได้
ดังนั้น เมื่อที่รองรับน้ำถูกถมกลายเป็นบ้านจัดสรรอย่างขาดการวางแผนและควบคุม เมื่อฝนตกหนักจึงทำให้เกิดการท่วมขังและแน่นอนว่าหากระบบระบายน้ำไม่มี ประสิทธิภาพด้วยแล้วปัญหาก็จะยิ่งหนักหน่วงและรุนแรงซึ่งเป็นจุดอ่อนที่จะ ถูกน้ำท่วมได้ง่าย

1.4 ขาดการวางแผนและการใช้มาตรการในการป้องปรามทางด้านกฎหมาย
เช่นกฎหมายผังเมืองรวม ของแต่ละจังหวัด อำเภอ หรือเทศบาล ไม่มีความสอดคล้องกับลักษณะทางกายภาพ เป็นต้น เช่น การกำหนดให้มีพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมในจังหวัดอยุธยา หรือปทุมธานี ทำให้เกิดการขยายตัวของชุมชนตามมาทั้งบ้านจัดสรร คอนโด อพาร์ตเมนต์ ฯลฯ ทั้งที่พื้นที่ดังกล่าวเป็นที่ต่ำที่น้ำหลากท่วมได้ง่าย ทำให้จัดการกับปัญหาน้ำท่วมได้ค่อนข้างยาก
นอกจากนั้นยังมีปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย เช่น การตัดไม้ทำลายป่าทำให้เกิดการหลากเร็วขึ้น การก่อสร้างถนนหนทางขวางทางน้ำหลากและมีการระบายน้ำไม่เพียงพอ การเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่แก้มลิงตามธรรมชาติไปทำประโยชน์อย่างอื่นเนื่อง จากจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น การที่ไม่มีการก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน้ำเพิ่มเติมจากที่มีอยู่ เป็นต้น

                 2.แนวทางแก้ไขปัญหาแบบยั่งยืน
 ปัญหาทั้งหมดดังที่กล่าวข้างต้นนั้นหาก ปล่อยให้ดำรงอยู่และดำเนินเช่นนี้ต่อไปเรื่อยๆ แน่นอนว่าความรุนแรงและความเสียหายก็จะทับทวีและมีความซับซ้อนของปัญหามาก ยิ่งขึ้นอย่างไม่ต้องสงสัย หรือหากจะปล่อยให้แต่ละฝ่ายแต่ละหน่วยงาน เช่น อบต.หรือเทศบาลที่ประสบปัญหาต่างไปดำเนินการก็คงไม่สำเร็จ และอาจทำให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณของแผ่นดินอย่างไม่คุ้มค่า หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อพื้นที่อื่นๆตามมาอย่างคาดไม่ถึง

ทั้งนี้เพราะปัญหาเรื่องน้ำแตกต่างจาก ปัญหาอื่นโดยสิ้นเชิงตรงที่ไม่สามารถแก้ไขเฉพาะแห่งหรือเฉพาะจุดได้ เพราะลำน้ำมีความยาวและมีการไหลผ่านพื้นที่หรือชุมชนต่างๆต่อเนื่องกันไป ดังนั้นการแก้ปัญหาเรื่องน้ำท่วมหรืออุทกภัยจะต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ความ เข้าใจเรื่องน้ำโดยเฉพาะโดยจะต้องศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบทั้ง ลุ่มน้ำเลยทีเดียว
ถ้าเป็นไปได้ควรจะดำเนินการเรื่องนี้เป็น วาระแห
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1.ปัญหาและสาเหตุของการเกิดน้ำท่วม ปรากฏการณ์นี้เป็นปัญหาที่ อยู่คู่กับสังคมไทยมานานและนับวันดูเหมือนจะทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ แม้จะไม่ได้สร้างความเสียหายร้ายแรงเหมือนแผ่นดินไหวหรือไฟไหม้ แต่ก็ทำให้มีการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินเป็นจำนวนมากในหลายๆเหตุการณ์ ที่เคยเกิดขึ้นในอดีต หรือเช่นกรณีที่กำลังเกิดขึ้นในพื้นที่หลายจังหวัดทางภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคกลาง ได้แก่ ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง อยุธยา ปทุมธานี เป็นต้นหากลองวิเคราะห์ปัญหาที่ทำ ให้เกิดน้ำท่วมในบ้านเราที่ประสบกันอยู่เกือบทุกปีมากบ้างน้อยบ้างดังที่ กล่าวมาพบว่าน่าจะมาจากปัจจัยหลัก 2 อย่าง คือ 1. ธรรมชาติ 2. มนุษย์ อันเป็นที่มาของสาเหตุต่างๆดังนี้ คือ1.1 ธรรมชาติก่อให้เกิดปริมาณฝนที่ตกหนักถึงหนักมากติดต่อกันในช่วงฤดูฝน จากการที่ประเทศไทยของเราตั้งอยู่ในเขต มรสุม(Moonsoon) มีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสลับกันพัดผ่านเกือบ ตลอดปี อิทธิพลของลมมรสุมทั้งสองได้ก่อให้เกิดผลต่างกันดังนี้ คืออิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัด จากมหาสมุทรอินเดียหรืออ่าวเบงกอลในช่วงประมาณเดือนพฤษภาคมไปจนถึงประมาณ กลางเดือนตุลาคม จะก่อให้เกิดฝนตกหนักกระจายเกือบทั่วทุกภาคของประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้ฝั่งตะวันออกที่อาจมีฝนตกประปรายเพราะมีเทือกเขาตะนาวศรีปิด กั้นอิทธิพลมรสุมเอาไว้ ช่วงเวลาดังกล่าวจึงเรียกว่าฤดูฝนของประเทศไทย ส่วนลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดมา จากแถบไซบีเรียในช่วงประมาณกลางเดือนตุลาคมไปจนถึงเดือนกุมภาพันธ์แม้จะก่อ ให้เกิดฤดูหนาวขึ้นในส่วนตอนบนของประเทศแต่ก็ก่อให้เกิดฝนตกหนักและน้ำท่วม ในบริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันออกตั้งแต่จังหวัดชุมพรถึงนราธิวาสเกือบทุกปีเช่น เดียวกัน
นอกจากฝนที่เกิดจากลมมรสุมทั้งสองดังที่ กล่าวแล้ว ยังมีอิทธิพลอื่นๆที่สำคัญ ได้แก่ อิทธิพลของร่องความกดอากาศ(Through) อิทธิพลของพายุหมุนหรือหย่อมความกดอากาศต่ำ(Depression)ซึ่งมักเกิดขึ้นใน ช่วงฤดูฝน เมื่อผสมรวมกันจึงทำให้ฝนตกต่อเนื่องโดยเฉลี่ยประมาณ 1500  มิลลิเมตรต่อปี และหากบางปีมีปรากฏการณ์ลานิญ่าเข้ามาด้วยก็จะเป็นสาเหตุให้ฝนตกหนักมากขึ้น อันเป็นที่มาของการเกิดน้ำหลาก น้ำท่วมอย่างรุนแรง

1.2 การขยายตัวอย่างขาดการวางแผนของชุมชนเมืองต่างๆทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
ในอดีตมักมีการตั้งบ้านเรือนหรือชุมชน ต่างๆตามริมแม่น้ำ เพราะน้ำเป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำรงชีวิต แต่ด้วยภูมิปัญญาของคนยุคก่อนที่เฝ้าสังเกตและเรียนรู้ที่จะอยู่กับ ธรรมชาติ ดังนั้น การสร้างบ้านเรือนริมน้ำจึงมักมีการยกใต้ถุนสูงให้ตัวบ้านพ้นระดับน้ำหลาก สูงสุดที่เคยท่วมเพื่อหนีปัญหา และแม้น้ำจะท่วมใต้ถุนเรือนก็ไม่เดือดร้อนเพราะมีเรือพายหรือเรือแจวช่วยใน การสัญจรไปไหนมาไหนได้ แถมยังมีการจัดงานรื่นเริง เช่น การเผาเทียนเล่นไฟเป็นที่สนุกสนานไม่ทุกข์ร้อน
เวลาผ่านไปชุมชนดังกล่าวมีการขยายตัวขึ้น เรื่อยๆตามจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น แต่มาระยะหลังผู้คนใส่ใจและเรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติน้อยลงและหันไปใส่ ใจกับเศรษฐกิจและความมั่งคั่งตามวิถีตะวันตกมากขึ้น วิถีชีวิตและความเป็นอยู่เปลี่ยนแปลงไป สภาพบ้านเรือนเปลี่ยนจากวิถีไทยแบบบ้านมีใต้ถุนสูงไม่เดือดร้อนแม้ถูกน้ำ ท่วมมาเป็นสไตล์ยุโรปหรือตะวันตก เน้นความสวยงามของรูปทรงที่แปลกตาทั้งบ้านชั้นเดียว บ้านสองชั้นที่เห็นกันอยู่ทั่วไปในปัจจุบันโดยทุกคนมิได้ตระหนักถึงปัญหาที่ จะตามมาในอนาคต

1.3 การถมที่สร้างบ้านจัดสรรหรือขยายเมืองไปในทิศทางที่เป็นที่ต่ำหรือที่ลุ่ม
มีการสร้างบ้านจัดสรรโดยการเอาดินไปถมที่ ลุ่มที่ราคาถูกแล้วสร้างบ้านขายในราคาแพง บ้านจัดสรรยุคก่อนๆที่ถมที่ลุ่มสร้างเสร็จใหม่ๆน้ำไม่เคยท่วมเพราะข้างเคียง หรือรอบๆยังมีแหล่งรองรับน้ำฝนเอาไว้ได้อย่างพอเพียง แต่เมื่อคนอื่น ๆ มองเห็นโอกาสของความมั่งคั่งบ้างต่างก็เร่งถมเร่งสร้าง และทุกคนก็กะหนีเอาตัวรอดโดยการถมที่ของตัวเองให้สูงกว่าข้างเคียงเข้าไว้ คนอื่นจะเป็นอย่างไรก็ช่างขอที่ของตัวเองน้ำไม่ท่วมเป็นใช้ได้
ดังนั้น เมื่อที่รองรับน้ำถูกถมกลายเป็นบ้านจัดสรรอย่างขาดการวางแผนและควบคุม เมื่อฝนตกหนักจึงทำให้เกิดการท่วมขังและแน่นอนว่าหากระบบระบายน้ำไม่มี ประสิทธิภาพด้วยแล้วปัญหาก็จะยิ่งหนักหน่วงและรุนแรงซึ่งเป็นจุดอ่อนที่จะ ถูกน้ำท่วมได้ง่าย

1.4 ขาดการวางแผนและการใช้มาตรการในการป้องปรามทางด้านกฎหมาย
เช่นกฎหมายผังเมืองรวม ของแต่ละจังหวัด อำเภอ หรือเทศบาล ไม่มีความสอดคล้องกับลักษณะทางกายภาพ เป็นต้น เช่น การกำหนดให้มีพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมในจังหวัดอยุธยา หรือปทุมธานี ทำให้เกิดการขยายตัวของชุมชนตามมาทั้งบ้านจัดสรร คอนโด อพาร์ตเมนต์ ฯลฯ ทั้งที่พื้นที่ดังกล่าวเป็นที่ต่ำที่น้ำหลากท่วมได้ง่าย ทำให้จัดการกับปัญหาน้ำท่วมได้ค่อนข้างยาก
นอกจากนั้นยังมีปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย เช่น การตัดไม้ทำลายป่าทำให้เกิดการหลากเร็วขึ้น การก่อสร้างถนนหนทางขวางทางน้ำหลากและมีการระบายน้ำไม่เพียงพอ การเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่แก้มลิงตามธรรมชาติไปทำประโยชน์อย่างอื่นเนื่อง จากจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น การที่ไม่มีการก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน้ำเพิ่มเติมจากที่มีอยู่ เป็นต้น

                 2.แนวทางแก้ไขปัญหาแบบยั่งยืน
 ปัญหาทั้งหมดดังที่กล่าวข้างต้นนั้นหาก ปล่อยให้ดำรงอยู่และดำเนินเช่นนี้ต่อไปเรื่อยๆ แน่นอนว่าความรุนแรงและความเสียหายก็จะทับทวีและมีความซับซ้อนของปัญหามาก ยิ่งขึ้นอย่างไม่ต้องสงสัย หรือหากจะปล่อยให้แต่ละฝ่ายแต่ละหน่วยงาน เช่น อบต.หรือเทศบาลที่ประสบปัญหาต่างไปดำเนินการก็คงไม่สำเร็จ และอาจทำให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณของแผ่นดินอย่างไม่คุ้มค่า หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อพื้นที่อื่นๆตามมาอย่างคาดไม่ถึง

ทั้งนี้เพราะปัญหาเรื่องน้ำแตกต่างจาก ปัญหาอื่นโดยสิ้นเชิงตรงที่ไม่สามารถแก้ไขเฉพาะแห่งหรือเฉพาะจุดได้ เพราะลำน้ำมีความยาวและมีการไหลผ่านพื้นที่หรือชุมชนต่างๆต่อเนื่องกันไป ดังนั้นการแก้ปัญหาเรื่องน้ำท่วมหรืออุทกภัยจะต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ความ เข้าใจเรื่องน้ำโดยเฉพาะโดยจะต้องศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบทั้ง ลุ่มน้ำเลยทีเดียว
ถ้าเป็นไปได้ควรจะดำเนินการเรื่องนี้เป็น วาระแห
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
1. The problem and the cause of the flooding
                  phenomenon is a problem. Thailand has long been with society and the day seems to be deteriorating more and more. Even without serious damage like an earthquake or fire. It resulted in the loss of life and property as in many other events. That have occurred in the past Or, as the case was going on in several provinces in the northern and central regions Lop Buri, Angthong, Ayutthaya, Pathum Thani, etc.
If you try to analyze the problem. Flooding in the US who suffer from the same place every year, varying as. Mentioned that the probability of two main factors, namely: 1. 2. human nature as the source of the reasons is 1.1 natural cause heavy to very heavy rainfall consecutive season of the UK's. We are located in Monsoon (Moonsoon) southwest monsoon and northeast monsoon alternately blowing through much of the year the influence of the monsoon has caused the two are different. The influence of the southwest monsoon winds that blow. From the Indian Ocean and Bay of Bengal during the month of May until about. Mid-October To cause heavy rains spread almost all over the country. Except the South East where rain fell sporadically because of the mountains Tanintharyi off. Monsoon influence them During this period, the so-called rainy season of the northeast monsoon, which blows. From the Siberia during mid October until February, although formation. The winter in the upper parts of the country, but also caused heavy rains and flooding. On the south east coast from Chumphon to Narathiwat almost every year, for example. The same also partly caused by the monsoon, the two mentioned, there are other influences that include the influence of pressure trough (Through) the influence of the cyclone or pressure low (Depression), which usually occurs during this period. rainy season, when mixed together, making the average rainfall of about 1500 mm per year. And if some of the phenomenon La Niña came with it will cause more rain. As the source of the flood. Severe floods 1.2 The expansion of the urban planning of both the central and regional in the past, often with the household or community. Along the river Because water is essential for life. However, with the wisdom of the era before observing and learning to live with nature, thus creating a waterfront homes often have to lift up to the house from the basement floods. Highest-ever floods to escape problems. And although the water will flood the basement, the house was not bothered by a boat or canoe help. Traffic to get around. I also like the fairgrounds and Candle is enjoyable not to suffer such a time, the community grew. So the population is increasing. But after people pay attention and learn to live with less and turn to enter. Mind the economy and wealth, according to the more Western. Lifestyle and well being changed. Change the way home habitation Thailand has not suffered even under high water. Flooding into Europe or Western style. The beauty of the unusual shape of the one-story house. Two-story home that is prevalent today by anyone not aware of the problems. Will follow in the future 1.3 The brick-built house and the town expanded in the direction of the lower or the depression is creating housing by removing soil reclamation. Depression is cheaper then building houses for sale at affordable prices. Housing Depression era before the completion of the new water reclamation never flooded because of side effects. Or around the water sources have supported them sufficiently. But others see the opportunity of wealth that are filling up quickly built. And everyone's escape to survive on its own by filling the above side effects to expect. However, the others will be at their own flood water is available so. When the water is filled into a housing that supports a lack of planning and control. When heavy rains have caused flooding and, of course, if there is no drainage system. Effectively with the problem, it is extremely heavy and intense, which is a weakness in. Flood-prone 1.4 Lack of planning and implementing measures for the suppression of the law such as Law. Each province, district or municipal not consistent with the physical characteristics such as determining the area of industrial estates in Ayutthaya and Pathum Thani, causing the expansion of the community as a whole house, condominium, apartment, etc. Both of these areas is low. Water floods easily Makes it quite difficult to deal with flooding , but also many other factors such as deforestation caused turnovers faster. The construction of roads across the flood and drainage is inadequate. Changing conditions cheeks naturally to serve another year. The population increased from The absence of the construction of dams to store water from the existing ones. Etc.                  2. sustainable solution  to all problems, as mentioned above, if. Leave to remain and continue this process indefinitely. Of course, violence and corruption, it will multiply and complicate the problem. Doubtless more If you are letting each individual agency as SAO. Or municipalities experiencing different action would not succeed. And may contribute to the budget of the earth is not worth it. Or may cause an impact on other areas as unexpected because unlike water issues. This problem can not be solved completely, or a particular spot. Because the river is long and the flow through the area or community continued. Therefore, solving the problem of flooding or flood is an individual who is knowledgeable. Understood, particularly the need to study and analyze the problem in a systematic way. Basin ever , if possible, should be conducted subject of this agenda.























การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: