ภูมิประเทศ ภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม
ประเทศไทยมีพื้นที่ประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลกและเป็นอันดับที่ 3 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากประเทศอินโดนีเซีย (1,910,931 กม.2) และประเทศพม่า (676,578 กม.2) และมีขนาดใกล้เคียงกับประเทศสเปน (505,370 กม.2) มากที่สุด
ประเทศไทยมีลักษณะภูมิประเทศที่หลากหลาย ภาคเหนือเป็นพื้นที่ภูเขาสูงสลับซับซ้อน จุดที่สูงที่สุดในประเทศไทย คือ ดอยอินทนนท์ ณ 2,565 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล รวมทั้งยังปกคลุมด้วยป่าไม้อันเป็นต้นน้ำที่สำคัญของประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ของที่ราบสูงโคราช สภาพของดินค่อนข้างแห้งแล้งและไม่ค่อยเอื้อต่อการเพาะปลูก แม่น้ำเจ้าพระยาเกิดจากแม่น้ำปิงและยมที่ไหลมาบรรจบกันที่ปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์ ทำให้ภาคกลางกลายเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดในประเทศ และถือได้ว่าเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก ภาคใต้เป็นส่วนหนึ่งของคาบสมุทรไทย-มาเลย์ ขนาบด้วยทะเลทั้งสองด้าน มีจุดที่แคบลง ณ คอคอดกระ แล้วขยายใหญ่เป็นคาบสมุทรมลายู ส่วนภาคตะวันตกเป็นหุบเขาและแนวเทือกเขาซึ่งพาดตัวมาจากทางตะวันตกของภาคเหนือ
แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำโขงถือเป็นแหล่งเกษตรกรรมที่สำคัญของประเทศไทย การผลิตของภาคอุตสาหกรรมการเกษตรจะต้องอาศัยผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้จากแม่น้ำทั้งสองและสาขาทั้งหลาย อ่าวไทยมีพื้นที่ประมาณ 320,000 ตารางกิโลเมตร รองรับน้ำซึ่งไหลมาจากแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำบางปะกง และแม่น้ำตาปี ถือเป็นแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยว เนื่องจากน้ำตื้นใสตามแนวชายฝั่งของภาคใต้และคอคอดกระ นอกจากนี้ อ่าวไทยยังเป็นศูนย์กลางทางอุตสาหกรรมของประเทศ เพราะมีท่าเรือหลักที่สัตหีบ ถือได้ว่าเป็นประตูที่จะนำไปสู่ท่าเรืออื่น ๆ ในกรุงเทพมหานคร ภาคใต้มีสถานที่ท่องเที่ยวซึ่งดึงดูดนักท่องเที่ยวมาก นักท่องเที่ยวมักเดินทางมาเยือนเสมอ ตั้งแต่จังหวัดภูเก็ต จังหวัดกระบี่ จังหวัดระนอง จังหวัดพังงา จังหวัดตรัง และหมู่เกาะตามแนวชายฝั่งของทะเลอันดามัน
ช้างเอเชีย (Elephas maximus) สัตว์ประจำชาติไทย
ภูมิอากาศของไทยเป็นแบบเขตร้อน หรือแบบสะวันนา มีอุณหภูมิเฉลี่ย 18-34 °C และมีปริมาณฝนตกเฉลี่ยตลอดปีกว่า 1,500 มิลลิเมตร สามารถแบ่งได้เป็น 3 ฤดูกาล: ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายนเป็นฤดูร้อน ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมเป็นฤดูฝน ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากทะเลจีนใต้และพายุหมุนเขตร้อน ส่วนในเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนมีนาคมเป็นฤดูหนาว ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากประเทศจีน ส่วนภาคใต้มีสภาพอากาศแบบป่าดงดิบ ซึ่งมีอากาศร้อนชื้นตลอดทั้งปี จึงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ฤดู คือ ฤดูฝนและร้อน โดยฝั่งทะเลตะวันออก ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน และฝั่งทะเลตะวันตก ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน
Topografi, iklim dan persekitaran
Thailand adalah kira-kira 513.115 kilometer persegi. Sebesar # 50 di dunia dan menduduki tempat ke 3 di Asia Tenggara. Madya Indonesia (1.910.931 km 2) dan Myanmar (676,.578 km 2) dan adalah sama dalam saiz ke Sepanyol (505.370 km 2)
topografi yang paling pelbagai Thailand. Kawasan pergunungan utara adalah kompleks. Titik tertinggi di Thailand adalah Doi Inthanon pada 2,.565 meter di atas paras laut Ia juga dilindungi oleh hutan sebagai sumber utama di negara ini. Kebanyakan kawasan utara-timur Korat dataran. Keadaan tanah agak kering dan tidak kondusif untuk penanaman.Nakhon Sawan Menjadikan rantau itu menjadi dataran sungai yang subur di negara ini. Dan dianggap sebagai salah satu beras utama dunia. Bahagian selatan semenanjung Thailand - Malaysia.Di tempat di mana Isthmus yang sempit Kra di Semenanjung Malaysia diperbesarkan. Rantau barat adalah lembah dan pergunungan, yang terletak di sebelah barat utara
.Chao Phraya dan Sungai Mekong adalah sebuah negara pertanian utama. Pengeluaran pertanian perindustrian akan memerlukan tuaian dari kedua-dua sungai dan cawangannya. Teluk Thailand adalah kira-kira 320.000 kilometer persegi Menampung air yang mengalir dari sungai. Sungai Sungai Sungai Tapi dan Dianggap sebagai tarikan pelancong Oleh kerana air cetek yang jelas di sepanjang pantai Selatan dan Kra Isthmus.Oleh kerana pelabuhan utama di Sattahip Ia adalah pintu yang membawa kepada pelabuhan-pelabuhan lain di Bangkok. Tarikan selatan yang menarik pelancong. Sentiasa salah satu yang paling melawat Dari PhuketRanong, Phang Nga, Trang dan pulau-pulau di sepanjang pantai Andaman
.
Iklim Gajah Asia (Elephas maximus) haiwan negara
Thailand tropika Thailand. Atau Savannah Suhu purata adalah 18-34 ° c dan hujan purata tahunan sebanyak 1,500 mm boleh dibahagikan ke dalam tiga musim.Antara Februari dan April untuk musim panas. Mei-Okt adalah musim hujan. Thailand telah dipengaruhi oleh monsun barat daya dari Laut China Selatan dan siklon tropika.Thailand telah dipengaruhi oleh angin monsun timur laut dari China. Iklim hutan hujan selatan. Ia adalah panas dan lembap sepanjang tahun. Ia boleh dibahagikan kepada dua musim: hujan dan panas Pantai Timur.Dan pantai barat Musim panas adalah dari bulan November hingga April.
การแปล กรุณารอสักครู่..