The history of the typewriterThe first typewriter is an English registered patent when in England by the famous engineer at 2237 (1694) Henry mill using a Machine that then Writig Mr. William Ottinboet. The Americans were using the Internet as the machine fabrication Typographer's wooden rectangle.2376 (1833) Progin The people of France have the invention machine for the blind, called the Ktypographic, consisting of the combination of keyboard characters when they knock down onto the shaft with the fingers hit the keys letter to the Center, which is the current model of typewriter.2416 (1873) With a standard typewriter manufacturing market in the United States. There was a typewriter that was successful in only 4-5 brands are Royal Remington thakho Rosa Smith of IBM and doewut.Best in Europe with inventors do many brands such as typewriter released in Germany with the Olympia Adler. On นอิตาลี there at the Hotel Villa properties tati in Holland he has mail's etc.Domestic ThailandMr. Etwin Maekfalaen He was part of the King's Secretary Prince Damrong thamkan Secretary of State Ministry of finance, the King approved the images travel to the United States. There is a concept that is being adapted into an English typewriter typewriter Thailand language. But because of the many guides and Thailand with language. Require the use of a typewriter key font to another type that has more than. Finally, choose the brand Smith thofri Premierเมื่อ พ.ศ. 2438 นายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ ก็ถึงแก่กรรม แต่ในขณะที่ป่วยอยู่ได้มอบหมายให้หมอยอร์ช บี แมคฟาร์แลนด์ (พระอาจวิทยาคม) น้องชายหาวิธีแก้ไขปรับปรุง และแพร่เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยให้กว้างขวางต่อไป พระอาจวิทยาคม ได้นำเครื่องพิมพ์ดีดแสดงโชว์ไว้ที่ร้านทำฟันของท่าน มีประชาชนและข้าราชการที่ไปทำฟันได้พบเห็นและได้รับคำแนะนำจำนวนมาก ต่อมาหน่วยราชการต่าง ๆ ก็สั่งซื้อจำนวนมาก โดยท่านได้สั่งให้โรงงานสมิทฟรีเมียร์ในสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ผลิตและส่งมาถึงเมืองไทยรุ่นแรก พ.ศ. 2440ในปี พ.ศ. 2467 พระอาจวิทยาคม ได้ปรึกษาและทำการค้นคว้ากับพนักงานบริษัท 2 คนคือ นายสวัสดิ์ มากประยูร และนายสุวรรณประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมณี โดยนายสวัสดิ์ มากประยูร เป็นวิศวกรออกแบบประดิษฐ์ตัวอักษร นายสุวรรณประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมณี ทำหน้าที่ฝ่ายวิชาการ ใช้เวลา 7 ปี ก็วางแป้นอักษรใหม่สำเร็จและเห็นว่าเหมาะสมที่สุด ใน พ.ศ. 2474 สามารถพิมพ์ได้ถนัดที่สุดและรวดเร็วที่สุด ให้ชื่อว่าแบบ “เกษมณี” และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ต่อมาได้มีผู้วิจัยพบว่า เครื่องพิมพ์ดีดแบบเกษมณี ยังมีข้อบกพร่องและคิดวางแป้นอักษรใหม่ ใช้ชื่อว่า “ปัตตะโชติ” และสภาวิจัยแห่งชาติตรวจสอบแล้วเห็นว่าเครื่องพิมพ์ดีดแบบปัตตะโชติ สามารถพิมพ์ได้เร็วกว่าแบบเดิมประมาณ 25.8% ในระหว่างปี พ.ศ. 2508 – 2516 ทำให้วงการใช้เครื่องพิมพ์ดีดเกิดความสับสน คณะรัฐมนตรีลงมติให้หน่วยราชการที่ได้รับงบประมาณค่าเครื่องพิมพ์ดีดจัดซื้อเครื่องพิมพ์ดีดไทยแบบปัตตะโชติ หลังวันที่ 16 ตุลาคม 2516 มีการยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวและให้มีการจัดซื้อเครื่องพิมพ์ดีดเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ปัจจุบันเครื่องพิมพ์ดีดได้ถูกพัฒนาให้ก้าวหน้าด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ สามารถพิมพ์ได้เร็ว น้ำหนักเบา เพราะใช้ระบบเครื่องไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์โดยสามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ที่พิมพ์ไว้ในเครื่องและสามารถสั่งให้เครื่องพิมพ์ข้อความเติมได้หลาย ๆ ฉบับขนาดของตัวพิมพแบบเครื่องพิมพ์ ประเภทของเครื่องพิมพ์ขนาดตัวพิมพที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปมี 3 ขนาด คือ1. ตัวอักษรขนาดใหญ่เรียกว่า"ไปก้า"์2. ตัวอักษรขนาดเล็กเรียกว่า"อีลีท"3. ตัวอักษร IBMเป็นตัวอักษรขนาดเล็กแบบเครื่องพิมพ์การวางแป้นอักษร เป็นสัญลักษณ์ของแบบเครื่องพิมพ์ เครตื ่องพิมพ์ดีดภาษาไทยได้มีการพัฒนาการวางแป้นอักษรมาแล้วแบบเครื่องพิมพ์มี 2 แบบ คือ1. แบบเกษมณี เป็นอักษรแป้นเหย้าคือ ฟ ห ก ด ่ า ส ว2. แบบปัตตะโชติ อักษรแป้นเหย้า คือ ้ ท ง ก า น เ ไประเภทของเครื่องพิมพ์ แบ่งได้ 2 ชนิด1. เครื่องพิมพ์ดีดที่เป็นอักษรไทยล้วน2.ท เครื่อง พิมพ์ดีดที่มีอักษรไทยและอักษรอังกฤษเครื่องพิมพ์ดีดเป็นอักษรไทยล้วนมี 2 แบบ1. แบบธรรมดา2. แบบไฟฟ้าเครื่องพิมพ์ดีดที่มีทั้งอักษรไทยและอังกฤษอยู่ในเครื่องเดียวกันมี 2 แบบ1. แบบกอล์ฟบอลล์2. แบบเฟืองหมุน
การแปล กรุณารอสักครู่..