ผู้เฒ่าผู้แก่ลาหู่ในหมู่บ้านขุนห้วยไส้เล่าว่า (โปรดดู ลาเคละ จะทอ, 254 การแปล - ผู้เฒ่าผู้แก่ลาหู่ในหมู่บ้านขุนห้วยไส้เล่าว่า (โปรดดู ลาเคละ จะทอ, 254 อังกฤษ วิธีการพูด

ผู้เฒ่าผู้แก่ลาหู่ในหมู่บ้านขุนห้วย

ผู้เฒ่าผู้แก่ลาหู่ในหมู่บ้านขุนห้วยไส้เล่าว่า (โปรดดู ลาเคละ จะทอ, 2548) ก่อนที่จะมีลาหู่เกิดขึ้นนั้นมีมนุษย์เผ่าอื่นเกิดขึ้นก่อนแล้ว โดยได้เล่ากันว่าเผ่าลาหู่เป็นน้องในบรรดาเผ่ามนุษย์ที่มีโลกนี้ จุดที่ลาหู่เกิดขึ้นนั้นเล่ากันว่า มีชายคนหนึ่งอาศัยอยู่กับคนอื่นในหมู่บ้านนั้น วันหนึ่งได้มีสัตว์ประหลาดเข้ามาในหมู่บ้าน สัตว์ตัวนั้นได้อาละวาดก่อกวนชาวบ้าน ชายที่ไม่มีใครทราบชื่อคนดังกล่าวได้ฆ่าสัตว์ประหลาดตัวนั้น ผู้คนก็พากันแห่มาดูเพราะไม่เคยเห็นสัตว์ชนิดนั้น และโดยบังเอิญผู้คนเหล่านั้นได้พากันร้องคำว่า ลา พร้อมกันขึ้น ลา แปลตามภาษาลาหู่ว่า เสือ และต่อมาก็มีคำคำหนึ่งดังขึ้นอีก คือคำว่า หู่ เป็นคำอุทาน แปลว่า ช่างมันเถอะ ชายคนนั้นจึงได้ชื่อมาโดยบังเอิญ ตามที่ผู้คนเหล่านั้นได้กล่าวคือ คำว่า “ลาหู่” ซึ่งคำ 2 คำนี้มารวมกันแล้วแปลว่า เสือผู้เฝ้าป่า โดดเดี่ยว ตามภาษาลาหู่
ชาวลาหู่ได้เล่าเกี่ยวกับแผ่นดินอันไร้ขอบเขต (มูแม-หมี่แม) หมายถึง พื้นที่อันกว้างไกลไร้ขอบเขต พื้นที่นั้นเสือจะวิ่งหนีจากตัวเราหนึ่งวัน คืนวันรุ่งขึ้นยังสามารถมองเห็นเสือตัวนั้นอยู่ เหตุนี้ชาวลาหู่จึงมีวิถีชีวิตสังคมที่มีความเป็นอิสระเสรีตามลักษณะพื้นถิ่นที่กำเนิด ลาหู่จึงเป็นเผ่าพันธุ์ที่มีความเป็นไท และได้สำนึกความเป็นเผ่าพันธุ์ของตัวเองในความเป็นคนอยู่เสมอ จึงมีจิตสำนึกว่า แผ่นดินไหนที่ข้าอยู่ แผ่นดินนั้นก็เป็นของข้าเช่นกัน ข้าจะปกป้องแผ่นดินที่ข้าอยู่ ถือว่าโลกทั้งโลกนี้ พระเจ้าสร้างให้กับคนทุกคน ไม่ใช่ของใครคนใดคนหนึ่ง ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในผืนแผ่นดิน สังคมลาหู่จึงเป็นสังคมที่ไม่ชอบเบียดเบียนผู้อื่น เพราะถือว่าการเบียดเบียนผู้อื่นจะทำให้เกิดทุกข์แก่ตัวเอง
เรื่องเล่าอีกเรื่องหนึ่งเป็นเรื่องเล่าเกี่ยวกับเผ่าและอารยธรรมของลาหู่ว่า พระเจ้าได้เรียกมนุษย์ 120 เผ่าพันธุ์มาชุมนุมกัน เพื่อประทานสิ่งของวิเศษ 2 อย่างคือ ลา-พือ-ต่อ (คันไถ) และ เจ๊ะเจ-ตู (ขวาน) ให้แก่มนุษย์ทั้ง120 เผ่า โดยให้แต่ละเผ่าเลือกตามความพอใจของตนได้ 3 ครั้ง มนุษย์เผ่าอื่นๆมักจะเลือกเอาคันไถ แต่สำหรับลาหู่ได้เลือกเอาขวานทั้ง 3 ครั้ง โดยให้เหตุผลว่า ที่ราบที่นามีไม่มากเหมือนกับป่า แต่ป่านั้นมีพื้นที่กว้างใหญ่ไพศาลมากนัก ดังนั้นจึงขอเลือกเอาขวาน พระเจ้าจึงได้ประทานขวานให้แก่ชาวลาหู่ และได้ตรัสว่า เจ้าจงใช้สิ่งของที่ข้าให้ไว้และรักษาไว้ให้ดี แล้วจะเกิดประโยชน์แก่ตัวเจ้า และจะเป็นภัยแก่ตัวเจ้า หากเจ้าไม่รู้จักใช้ ลาหู่จึงรับเอาขวานแล้วเข้าป่าไปในที่สุด
สำหรับวิชาความรู้ที่พระเจ้าได้ประทานให้กับชาวลาหู่นั้น พระเจ้าได้ให้ไว้เป็นตัวอักษร แต่ลาหู่กลับกินเข้าไป จึงให้คายออกมา แต่เมื่อคายออกมาก็กลายเป็นก้อนเหนียวๆ กลมๆ ปัจจุบันชาวลาหู่เรียกสิ่งนี้ว่า “ออ-ฝุก” หรือที่คนไทยพื้นราบทั่วไปเรียกว่า “ข้าวปุ๊” พระเจ้าจึงบอกว่านี่แหละเป็นวิชาความรู้ของเจ้า และได้กล่าวไว้ว่า วันหนึ่งจะเกิดมหัศจรรย์ หากรักษาไว้ดีไม่ให้สูญหาย เมื่อถึงเทศกาลปีใหม่ หรือ “เขอะ-จา” ของทุกปี ชาวลาหู่ทุกครัวเรือนจึงต้องตำข้าวปุ๊ บูชาเทพเจ้าแห่งปีใหม่ เพื่อบอกกล่าวว่า ได้รักษาวิชาความรู้ที่ท่านให้ไว้มาจนครบอีกวาระหนึ่ง พระเจ้ายังได้ตรัสอีกว่าในบรรดาชนเผ่าทั้งหลาย ชาวลาหู่นั้นเป็นน้องของชนเผ่าอื่นๆ หากรักษาวิชาที่ให้ไว้ ถึงวันหนึ่งไม่มีใคร หรือ สิ่งใดที่สามารถหยุดยั้งสิ่งมหัศจรรย์ที่เกิดขึ้นได้ ต้องรอคอยวันเวลา และไม่ลืมในความเป็นเผ่าของตนเอง ชาวลาหู่จึงชอบอยู่แต่ในป่าเขาตลอดเรื่อยมา รักในความอิสรเสรีเสรีภาพ มีความสันโดษ ไม่ชอบยุ่งเกี่ยวกับใคร
ภาษา David Bradley (1975) นักภาษาศาสตร์ชาวออสเตรเลียได้ศึกษาภาษาถิ่นต่างๆ ในตระกูลภาษาทิเบต-พม่า อย่างลึกซึ้ง ได้จัดกลุ่มภาษาลาหู่อยู่ในกลุ่มภาษาตระกูลจีน-ทิเบต (Sino-Tibetan) สาขาทิเบต-พม่า กลุ่มภาษาโลโลดั้งเดิม (Proto-Lolo) และแตกสาขาย่อยลงมาในกลุ่มพม่า-โลโล สาขาโลโลกลาง (Central Lolo) ซึ่งอยู่ในกลุ่มเดียวกับภาษาลีซู และภาษาอาข่า
ภาษาลาหู่เป็นภาษาที่ไม่มีตัวอักษรหรือระบบการเขียนเป็นของตนเองมาก่อน แต่ต่อมาภายหลังมีหมอสอนศาสนาจากโลกตะวันตกได้ใช้อักษรโรมันสร้างระบบการเขียนภาษาลาหู่ขึ้น ภาษาลาหู่เป็นภาษาที่มีระบบการเรียงคำแตกต่างจากภาษาไทย แต่เหมือนภาษาพม่า เพราะมาจากภาษาตระกูลเดียวกัน กล่าวคือ ประธาน - กรรม - กริยา (ในขณะที่ภาษาไทยเรียงคำเป็นประธาน – กริยา – กรรม) เช่น ประโยคที่คนไทยพูดว่า ฉันกินข้าว คนลาหู่จะพูดว่า หง่าอ่อจ้าเว (หง่า = ฉัน, อ่อ = ข้าว, จ้า = กิน, เว = คำลงท้าย)
เป็นที่น่าสังเกตว่า การที่ภาษาลาหู่ไม่มีเสียงพยัญชนะท้าย ทำให้คนลาหู่ที่เริ่มหัดพูดภาษาไทยมักประสบความยุ่งยากในการออกเสียงตัวสะกดในภาษาไทย จึงมักจะทำเสียงตัวสะกดของภาษาไทยหายไป เช่น หมด กบ ตก จะออกเสียงเป็น โหมะ โกะ โตะ
อย่างไรก็ตาม การรู้จักธรรมชาติการออกเสียงภาษาไทยของชาวลาหู่ ก็นับว่ามีประโยชน์อย่างมากในการสืบสาวร่องรอยอิทธิพลของวัฒนธรรมชนชาติไท – ไต ที่มีต่อวัฒนธรรมลาหู่ ตัวอย่างเช่น การศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนาของลาหู่ ทำให้ทราบข้อเท็จจริงว่าลาหู่ได้รับอิทธิพลของศาสนาพุทธนิกายเถรวาทจากวัฒนธรรมไทยเป็นส่วนใหญ่ เช่น คำว่า โตโบ ซึ่งเป็นผู้นำศาสนาสูงสุดในชุมชนน่าจะมาจากคำว่า “ต๋นบุญ”ในภาษาไทยทางภาคเหนือนั่นเอง รวมทั้งคำว่า “ปู่จอง” ซึ่งอาจแปลว่า มัคทายก ในภาษาไทย (จอง ในภาษาไทยใหญ่ แปลว่า “วัด”) (โสฬส, 2539 : 12)
ลาหู่ในประเทศไทย ชนเผ่าลาหู่ เป็นกลุ่มชนเผ่าที่ใหญ่ที่สุดเผ่าหนึ่ง ปัจจุบันมีการกระจายตัวอาศัยอยู่ในหลายประเทศ เช่น จีน พม่า ไทย ลาว เวียดนาม และมีการอพยพไปยังประเทศโลกที่สามเช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส อังกฤษ ส่วนชาวลาหู่ในประเทศไทย แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้หลายกลุ่ม เช่น ลาหู่ญี, ลาหู่นะ, ลาหู่แซแล, ลาหู่ชี ฯลฯ กระจายตัวอยู่ในเขตจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ ตาก แม่ฮ่องสอน กำแพงเพชร ลำปาง น่าน และเพชรบูรณ์

จากการรวบรวมข้อมูลประชากรโดยกลุ่มประสานการจัดสวัสดิการแก่ชุมชนบนพื้นที่สูง กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ปี พ.ศ. 2545 แสดงว่าลาหู่มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 102,876 คน 385 กลุ่มบ้าน 18,057 หลังคาเรือน 20,347 ครอบครัว


ผู้นำหมู่
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Elders in the village of Lahu Khun Huai says filling (see La khle will weave, 2548) Before it happens with humans, Lahu tribes occurs before the other, and then by the Lahu tribe that has a brother among the tribes, human world. The point where the Lahu occurs so that one man is living with another man in the village then. One day, a monster has arrived in the village. Animal rampage, harassing villagers. Does anyone know the name of the man she killed the monster. People are taking a look at, because the parade had never seen that type of animal, and by chance those people singing words that have simultaneous translation by La La La hu language depending on whether the Tiger and later, it is one word, the word is more exclamations that hu is a mechanic for it! The man has a name by chance, according to those people, that is, the words "La hu", which is the 2 words together and then translate that Tiger Woods made lonely vigil by Lahu language.About Lahu about boundless land (macro-macro-desperate Moody), the sweeping space boundaries that Tiger will run away from us one day. Return the next day, the Tiger can be seen also is located. Because of this, the Lahu, so there's a social life that is flowing, according to the local characteristics. Lahu is therefore a clan that is Ty and got two of their own in the race is always a man. So there is a consciousness that the land where I reside. It is my arms as well. I defend the land we are treated to this whole world. God created them with everyone who doesn't belong to any one. Everyone is entitled to freedom in the land. As a society, so society Lahu molest other people don't like it because of the persecution of others considered to cause suffering unto itself. เรื่องเล่าอีกเรื่องหนึ่งเป็นเรื่องเล่าเกี่ยวกับเผ่าและอารยธรรมของลาหู่ว่า พระเจ้าได้เรียกมนุษย์ 120 เผ่าพันธุ์มาชุมนุมกัน เพื่อประทานสิ่งของวิเศษ 2 อย่างคือ ลา-พือ-ต่อ (คันไถ) และ เจ๊ะเจ-ตู (ขวาน) ให้แก่มนุษย์ทั้ง120 เผ่า โดยให้แต่ละเผ่าเลือกตามความพอใจของตนได้ 3 ครั้ง มนุษย์เผ่าอื่นๆมักจะเลือกเอาคันไถ แต่สำหรับลาหู่ได้เลือกเอาขวานทั้ง 3 ครั้ง โดยให้เหตุผลว่า ที่ราบที่นามีไม่มากเหมือนกับป่า แต่ป่านั้นมีพื้นที่กว้างใหญ่ไพศาลมากนัก ดังนั้นจึงขอเลือกเอาขวาน พระเจ้าจึงได้ประทานขวานให้แก่ชาวลาหู่ และได้ตรัสว่า เจ้าจงใช้สิ่งของที่ข้าให้ไว้และรักษาไว้ให้ดี แล้วจะเกิดประโยชน์แก่ตัวเจ้า และจะเป็นภัยแก่ตัวเจ้า หากเจ้าไม่รู้จักใช้ ลาหู่จึงรับเอาขวานแล้วเข้าป่าไปในที่สุด สำหรับวิชาความรู้ที่พระเจ้าได้ประทานให้กับชาวลาหู่นั้น พระเจ้าได้ให้ไว้เป็นตัวอักษร แต่ลาหู่กลับกินเข้าไป จึงให้คายออกมา แต่เมื่อคายออกมาก็กลายเป็นก้อนเหนียวๆ กลมๆ ปัจจุบันชาวลาหู่เรียกสิ่งนี้ว่า “ออ-ฝุก” หรือที่คนไทยพื้นราบทั่วไปเรียกว่า “ข้าวปุ๊” พระเจ้าจึงบอกว่านี่แหละเป็นวิชาความรู้ของเจ้า และได้กล่าวไว้ว่า วันหนึ่งจะเกิดมหัศจรรย์ หากรักษาไว้ดีไม่ให้สูญหาย เมื่อถึงเทศกาลปีใหม่ หรือ “เขอะ-จา” ของทุกปี ชาวลาหู่ทุกครัวเรือนจึงต้องตำข้าวปุ๊ บูชาเทพเจ้าแห่งปีใหม่ เพื่อบอกกล่าวว่า ได้รักษาวิชาความรู้ที่ท่านให้ไว้มาจนครบอีกวาระหนึ่ง พระเจ้ายังได้ตรัสอีกว่าในบรรดาชนเผ่าทั้งหลาย ชาวลาหู่นั้นเป็นน้องของชนเผ่าอื่นๆ หากรักษาวิชาที่ให้ไว้ ถึงวันหนึ่งไม่มีใคร หรือ สิ่งใดที่สามารถหยุดยั้งสิ่งมหัศจรรย์ที่เกิดขึ้นได้ ต้องรอคอยวันเวลา และไม่ลืมในความเป็นเผ่าของตนเอง ชาวลาหู่จึงชอบอยู่แต่ในป่าเขาตลอดเรื่อยมา รักในความอิสรเสรีเสรีภาพ มีความสันโดษ ไม่ชอบยุ่งเกี่ยวกับใคร ภาษา David Bradley (1975) นักภาษาศาสตร์ชาวออสเตรเลียได้ศึกษาภาษาถิ่นต่างๆ ในตระกูลภาษาทิเบต-พม่า อย่างลึกซึ้ง ได้จัดกลุ่มภาษาลาหู่อยู่ในกลุ่มภาษาตระกูลจีน-ทิเบต (Sino-Tibetan) สาขาทิเบต-พม่า กลุ่มภาษาโลโลดั้งเดิม (Proto-Lolo) และแตกสาขาย่อยลงมาในกลุ่มพม่า-โลโล สาขาโลโลกลาง (Central Lolo) ซึ่งอยู่ในกลุ่มเดียวกับภาษาลีซู และภาษาอาข่า
ภาษาลาหู่เป็นภาษาที่ไม่มีตัวอักษรหรือระบบการเขียนเป็นของตนเองมาก่อน แต่ต่อมาภายหลังมีหมอสอนศาสนาจากโลกตะวันตกได้ใช้อักษรโรมันสร้างระบบการเขียนภาษาลาหู่ขึ้น ภาษาลาหู่เป็นภาษาที่มีระบบการเรียงคำแตกต่างจากภาษาไทย แต่เหมือนภาษาพม่า เพราะมาจากภาษาตระกูลเดียวกัน กล่าวคือ ประธาน - กรรม - กริยา (ในขณะที่ภาษาไทยเรียงคำเป็นประธาน – กริยา – กรรม) เช่น ประโยคที่คนไทยพูดว่า ฉันกินข้าว คนลาหู่จะพูดว่า หง่าอ่อจ้าเว (หง่า = ฉัน, อ่อ = ข้าว, จ้า = กิน, เว = คำลงท้าย)
เป็นที่น่าสังเกตว่า การที่ภาษาลาหู่ไม่มีเสียงพยัญชนะท้าย ทำให้คนลาหู่ที่เริ่มหัดพูดภาษาไทยมักประสบความยุ่งยากในการออกเสียงตัวสะกดในภาษาไทย จึงมักจะทำเสียงตัวสะกดของภาษาไทยหายไป เช่น หมด กบ ตก จะออกเสียงเป็น โหมะ โกะ โตะ
อย่างไรก็ตาม การรู้จักธรรมชาติการออกเสียงภาษาไทยของชาวลาหู่ ก็นับว่ามีประโยชน์อย่างมากในการสืบสาวร่องรอยอิทธิพลของวัฒนธรรมชนชาติไท – ไต ที่มีต่อวัฒนธรรมลาหู่ ตัวอย่างเช่น การศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนาของลาหู่ ทำให้ทราบข้อเท็จจริงว่าลาหู่ได้รับอิทธิพลของศาสนาพุทธนิกายเถรวาทจากวัฒนธรรมไทยเป็นส่วนใหญ่ เช่น คำว่า โตโบ ซึ่งเป็นผู้นำศาสนาสูงสุดในชุมชนน่าจะมาจากคำว่า “ต๋นบุญ”ในภาษาไทยทางภาคเหนือนั่นเอง รวมทั้งคำว่า “ปู่จอง” ซึ่งอาจแปลว่า มัคทายก ในภาษาไทย (จอง ในภาษาไทยใหญ่ แปลว่า “วัด”) (โสฬส, 2539 : 12)
ลาหู่ในประเทศไทย ชนเผ่าลาหู่ เป็นกลุ่มชนเผ่าที่ใหญ่ที่สุดเผ่าหนึ่ง ปัจจุบันมีการกระจายตัวอาศัยอยู่ในหลายประเทศ เช่น จีน พม่า ไทย ลาว เวียดนาม และมีการอพยพไปยังประเทศโลกที่สามเช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส อังกฤษ ส่วนชาวลาหู่ในประเทศไทย แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้หลายกลุ่ม เช่น ลาหู่ญี, ลาหู่นะ, ลาหู่แซแล, ลาหู่ชี ฯลฯ กระจายตัวอยู่ในเขตจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ ตาก แม่ฮ่องสอน กำแพงเพชร ลำปาง น่าน และเพชรบูรณ์

จากการรวบรวมข้อมูลประชากรโดยกลุ่มประสานการจัดสวัสดิการแก่ชุมชนบนพื้นที่สูง กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ปี พ.ศ. 2545 แสดงว่าลาหู่มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 102,876 คน 385 กลุ่มบ้าน 18,057 หลังคาเรือน 20,347 ครอบครัว


ผู้นำหมู่
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The elders Lahu village king Huai filling said (please see la cale, weaving, 2548) before the Lahu happens that humans and other tribes before. The said tribes Lahu is the younger brother of the human race with the world. Points of Lahu occur that say There was a man living with someone in that village. One day there was a monster in the village. The animals were rampant harassing people. The man nobody know the name kill monster. People to parade to see it because I had never seen an animal species. And by chance the people that they sing "La simultaneously up La translated according to the Lahu, tiger, and then there was a word louder. Is the "Hu, interjections, mean, forget it, the man named by accident According to those people have the word "ignore" which words 2 it together now means tiger the Ranger, alone, according to the Lahu.Lahu tell you about the unlimited scope (mu I - Mi macro) means the area larger ไร้ขอบเขต. The area that tigers will run away from us one day. The night the day can see the tiger. Why Lahu are lifestyle social freedom according to the characteristics of vernacular at birth. Lahu is a species of liberation. And the sense of your own race of humans was always conscious that แผ่นดินไหน I live in, the land is mine. I will protect the land I was considered the world, God created for people, not for anyone. Everyone has the right to freedom in the earth. The society is a society that doesn't encroach on Lahu people. Because it is considered the persecution of others will cause suffering yourself.A story about one another story about the culture and civilization of the Lahu that God ได้เรียก human 120 races gather. To bestow magical things 2 is La - pleasure - (plough) and CIK JE Tu (axe) to the whole human 120 tribes, each tribe selected according to their satisfaction 3 times. Human other tribes often.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: