บทนำในปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ และสาธารณสุข รวมถึงการกระจ การแปล - บทนำในปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ และสาธารณสุข รวมถึงการกระจ อังกฤษ วิธีการพูด

บทนำในปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทาง

บทนำ
ในปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ และสาธารณสุข รวมถึงการกระจายการให้บริการด้านสุขภาพ และการเข้าถึงข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว มีความสนใจในการดูแลตนเองมากขึ้น ทำให้อัตราการตายลดลง และอัตราการเกิดก็ลดลงเช่นกัน (ประเสริฐ อัสสันตชัย,2552) ในปี 2553 ประเทศไทย มีประชากรผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 12.08 ของประชากรทั้งหมด (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2553) และคาดการว่าในปี พ.ศ.2563 จะมีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นประมาณ 10.8 ล้านคน (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,2550) การเพิ่มของประชากรผู้สูงอายุกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุไทยร้อยละ 26 มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้คิดเป็นร้อยละ 30 ทั้ง นี้พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ที่ผู้สูงอายุไทยปฏิบัติตัวได้น้อยที่สุดเรียงตามลาดับ ได้แก่ ออกกาลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 15-30 นาทีเป็นประจำคิดเป็นร้อยละ 57 ดื่มน้ำสะอาดวันละ 8 แก้วหรือมากกว่าเป็นประจำคิดเป็นร้อยละ 65 รับประทานผักและผลไม้เป็นประจำคิดเป็นร้อยละ 66 ไม่ดื่มสุรา/เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์คิดเป็นร้อยละ 83 และไม่สูบบุหรี่คิดเป็นร้อยละ 84 การเจ็บป่วยด้วยโรค/ปัญหาสุขภาพมีดังต่อไปนี้ โรคความดันโลหิตสูงคิดเป็นร้อยละ 41 โรคเบาหวานคิดเป็นร้อยละ 18 ข้อเข่าเสื่อมคิดเป็นร้อยละ 9 เป็นผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 6 โรคซึมเศร้าคิดเป็นร้อยละ 1 และผู้ป่วยติดเตียงคิดเป็นร้อยละ 1 มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้น ที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยจากแพทย์และไม่มีโรค/ปัญหาสุขภาพ (การสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2556)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ใช้แนวคิดที่ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ที่ให้ “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” และ “สร้างสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ มีความสอดคล้องกับ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ (พ.ศ.2545 – 2564) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 พ.ศ.2552 ประเด็นแรกผู้สูงอายุที่มีคุณภาพที่ดี เช่น มีสุขภาพที่ดีทั้งกายและจิต มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลและข่าวสารอย่างต่อเนื่อง ประเด็นที่สองครอบครัวและชุมชนเป็นสถาบันหลักที่มีความเข้มแข็ง สามารถให้การเกื้อหนุนแก่ผู้สูงอายุได้อย่างมีคุณภาพ ประเด็นที่สามระบบสวัสดิการและบริการ จะต้องสามารถรองรับผู้สูงอายุให้สามารถดำรงอยู่ กับครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพและมีมาตรฐาน ประเด็นที่สี่ทุกภาคส่วนจะต้องมีส่วนร่วมในระบบสวัสดิการและบริการให้แก่ผู้สูงอายุ โดยมีการกำกับดูแลเพื่อการคุ้มครองผู้สูงอายุในฐานะผู้บริโภค ประเด็นที่ห้าต้องมีการดำเนินการที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุที่ทุกข์ยากและต้องการการเกื้อกูลให้ดำรงชีวิตอยู่ในชุมชนได้อย่างดีและต่อเนื่อง การจะดำเนินตามแผนให้สำเร็จนั้นต้องอาศัย การมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นกระบวนการที่สำคัญก่อให้เกิดพลังของทุกฝ่ายในระดับครอบครัว และชุมชนเพื่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้า ( WHO,1985 cited in Mac Donald and Chavasse,1997) ดังนั้นการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน โดยชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจและใช้ทรัพยากรชุมชน และทุนทางสังคม ประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีบทบาทในการบริหารจัดการชุมชนในความรับผิดชอบของตนเอง เพื่อให้การดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบททางสังคม วัฒนธรรม
บ้านพังเทียม ตำบลพระทองคำ อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา มีประชากร 1,146 คน มีผู้สูงอายุ 205 คน คิดเป็นร้อยละ 17.89 ของประชากรทุกช่วงอายุ (ข้อมูลสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ณ วันที่ 25 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ) เป็นหมู่บ้ายในโครงการ หมู่บ้านวิทยาลัยผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ของวิทยาลัย ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนด้านสุขภาพผู้สูงอายุ กรรณิการ์ หาญสูงเนิน และคณะ(2556) ศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านพังเทียม พบว่าพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพรายด้านในด้านโภชนาการ ด้านการจัดการกับความเครียด ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพและการเจริญทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับเหมาะสมมาก กิจกรรมทางกาย และสัมพันธภาพระหว่างบุคคล อยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง มีการรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้อุปสรรคของพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ สามารถร่วมกับทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุบ้านพังเทียมได้ร้อยละ 84.5 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงเลือกได้พิจารณาเลือกหมู่บ้านพังเทียมในการศึกษาวิจัยการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยเน้นกระบวนการที่มีส่วนร่วมของชุมชน ตั้งแต่การวิเคราะห์สถานการณ์การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ปัญหา วางแผนและดำเนินกิจกรรมร่วมกัน และประเมินผลกิจกรรมผ่านการเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อศึกษาปัจจัยและแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุ ให้สอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิตและความต้องการของชุมชน

วัตถุประสงค์การวิจัย

เพื่อศึกษาปัจจัย และแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุ โดยใช้การมีส่วนร่วมของในชุมชน

วิจัยดำเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ( Action Research ) โดยใช้เทคนิคกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม (เทคนิค A-I-C) ผู้วิจัยแบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ระยะคือ ระยะสำรวจความต้องการของชุมชน ระยะการดำเนินการ ระยะจัดทำแผนชุมชน ซึ่งกำหนดกิจกรรมที่สำคัญและดำเนินการตามลำดับดังนี้
1. ระยะสำรวจความต้องการของชุมชน
1.1. รวบรวมข้อมูลพื้นฐานของชุมชน ได้แก่ สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของหมู่บ้าน ข้อมูลทั่วไป ประชากร ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านวัฒนธรรมประเพณี และความเชื้อภูมิปัญญาท้องถิ่น วิถีชีวิตความเป็นอยู่ในหมู่บ้าน
1.2. ประสานงานกับองค์การบริหารส่วนตำบลพังเทียม และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ขอความร่วมมือและให้การสนับสนุนในการดำเนินการวิจัยครั้งนี้ แจ้งวัตถุประสงค์ วิธีการดำเนินงานและระยะเวลาดำเนินการวิจัยให้รับทราบ ตลอดจนขอความร่วมมือในการอนุญาตให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมในกิจกรรมในการวิจัยครั้งนี้
1.3. จัดประชุมชี้แจงความเข้าใจระหว่างผู้วิจัยกับกลุ่มตัวแทนหน่วยงา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Introductionในปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ และสาธารณสุข รวมถึงการกระจายการให้บริการด้านสุขภาพ และการเข้าถึงข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว มีความสนใจในการดูแลตนเองมากขึ้น ทำให้อัตราการตายลดลง และอัตราการเกิดก็ลดลงเช่นกัน (ประเสริฐ อัสสันตชัย,2552) ในปี 2553 ประเทศไทย มีประชากรผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 12.08 ของประชากรทั้งหมด (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2553) และคาดการว่าในปี พ.ศ.2563 จะมีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นประมาณ 10.8 ล้านคน (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,2550) การเพิ่มของประชากรผู้สูงอายุกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุไทยร้อยละ 26 มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้คิดเป็นร้อยละ 30 ทั้ง นี้พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ที่ผู้สูงอายุไทยปฏิบัติตัวได้น้อยที่สุดเรียงตามลาดับ ได้แก่ ออกกาลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 15-30 นาทีเป็นประจำคิดเป็นร้อยละ 57 ดื่มน้ำสะอาดวันละ 8 แก้วหรือมากกว่าเป็นประจำคิดเป็นร้อยละ 65 รับประทานผักและผลไม้เป็นประจำคิดเป็นร้อยละ 66 ไม่ดื่มสุรา/เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์คิดเป็นร้อยละ 83 และไม่สูบบุหรี่คิดเป็นร้อยละ 84 การเจ็บป่วยด้วยโรค/ปัญหาสุขภาพมีดังต่อไปนี้ โรคความดันโลหิตสูงคิดเป็นร้อยละ 41 โรคเบาหวานคิดเป็นร้อยละ 18 ข้อเข่าเสื่อมคิดเป็นร้อยละ 9 เป็นผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 6 โรคซึมเศร้าคิดเป็นร้อยละ 1 และผู้ป่วยติดเตียงคิดเป็นร้อยละ 1 มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้น ที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยจากแพทย์และไม่มีโรค/ปัญหาสุขภาพ (การสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2556) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ใช้แนวคิดที่ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ที่ให้ “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” และ “สร้างสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ มีความสอดคล้องกับ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ (พ.ศ.2545 – 2564) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 พ.ศ.2552 ประเด็นแรกผู้สูงอายุที่มีคุณภาพที่ดี เช่น มีสุขภาพที่ดีทั้งกายและจิต มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลและข่าวสารอย่างต่อเนื่อง ประเด็นที่สองครอบครัวและชุมชนเป็นสถาบันหลักที่มีความเข้มแข็ง สามารถให้การเกื้อหนุนแก่ผู้สูงอายุได้อย่างมีคุณภาพ ประเด็นที่สามระบบสวัสดิการและบริการ จะต้องสามารถรองรับผู้สูงอายุให้สามารถดำรงอยู่ กับครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพและมีมาตรฐาน ประเด็นที่สี่ทุกภาคส่วนจะต้องมีส่วนร่วมในระบบสวัสดิการและบริการให้แก่ผู้สูงอายุ โดยมีการกำกับดูแลเพื่อการคุ้มครองผู้สูงอายุในฐานะผู้บริโภค ประเด็นที่ห้าต้องมีการดำเนินการที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุที่ทุกข์ยากและต้องการการเกื้อกูลให้ดำรงชีวิตอยู่ในชุมชนได้อย่างดีและต่อเนื่อง การจะดำเนินตามแผนให้สำเร็จนั้นต้องอาศัย การมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นกระบวนการที่สำคัญก่อให้เกิดพลังของทุกฝ่ายในระดับครอบครัว และชุมชนเพื่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้า ( WHO,1985 cited in Mac Donald and Chavasse,1997) ดังนั้นการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน โดยชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจและใช้ทรัพยากรชุมชน และทุนทางสังคม ประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีบทบาทในการบริหารจัดการชุมชนในความรับผิดชอบของตนเอง เพื่อให้การดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบททางสังคม วัฒนธรรม บ้านพังเทียม ตำบลพระทองคำ อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา มีประชากร 1,146 คน มีผู้สูงอายุ 205 คน คิดเป็นร้อยละ 17.89 ของประชากรทุกช่วงอายุ (ข้อมูลสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ณ วันที่ 25 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ) เป็นหมู่บ้ายในโครงการ หมู่บ้านวิทยาลัยผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ของวิทยาลัย ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนด้านสุขภาพผู้สูงอายุ กรรณิการ์ หาญสูงเนิน และคณะ(2556) ศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านพังเทียม พบว่าพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพรายด้านในด้านโภชนาการ ด้านการจัดการกับความเครียด ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพและการเจริญทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับเหมาะสมมาก กิจกรรมทางกาย และสัมพันธภาพระหว่างบุคคล อยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง มีการรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้อุปสรรคของพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ สามารถร่วมกับทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุบ้านพังเทียมได้ร้อยละ 84.5 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงเลือกได้พิจารณาเลือกหมู่บ้านพังเทียมในการศึกษาวิจัยการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยเน้นกระบวนการที่มีส่วนร่วมของชุมชน ตั้งแต่การวิเคราะห์สถานการณ์การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ปัญหา วางแผนและดำเนินกิจกรรมร่วมกัน และประเมินผลกิจกรรมผ่านการเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อศึกษาปัจจัยและแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุ ให้สอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิตและความต้องการของชุมชน The research objective.To study the factors and guidelines for health promotion in the elderly through involvement in the community.Research performed research.This research is a research workshop (Action Research), using a technical process of planning is involved (A-I-C technique), the study researchers divided into 3 phases phase explores the needs of the community. The action stage, stage community plan, which defines the activities and operations, respectively, as follows: 1. a survey of the needs of the community stage. 1.1. basic information gathering of the community include the geographic location of the village. General information qualitative data: population, social economic The cultural tradition and the wisdom of local infection lifestyle living in the village. 1.2. coordinate with the Administration in ruins and the sub-district involved. Request for cooperation and support in conducting the research. Notice of purpose. The method of operation and the duration of action research, acknowledged, as well as the request for cooperation in allowing those involved to participate in the activity in the research. 1.3. clarification of the meeting and understanding between research groups, the representative unit of the Sesame.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Introduction to
.At present, the progress of medical and public health, including the distribution of health services. And access to information quickly. Have interest in self-care, more make mortality decreased.(Gospel, Ascoli peace Chai,
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: