Timber industry is an important industry of Surat Thani province, Chumphon, Nakhon SI thammarat and is also a major industry of the country. By country, Thailand is a major producer of rubber plantations which have more than 20 percent of the rubber plantations all over the world. The rubber factory will receive comes from farmers in the area, through middlemen, and making fresh water timber processing rubber for export by the outcome, it is divided into two types of latex & rubber (rubber bar. Sakim khref rubber. Sakim rubber blocks. Rubber sheet The raw rubber sheets Dried/smoked rubber sheets to expose) by processing these tyres will be transported to the next downstream factories to produce finished rubber products such as tires, car wheels in various different tubes, shoes, gloves, etc., in the project area, there are also factory produced large amounts of rubber gloves for export. ทุกโรงงานอุตสาหกรรมยางพาราในพื้นที่ผลิตสินค้าเพื่อส่งออกยังต่างประเทศ (แต่ละโรงงานผลิตสินค้าเพื่อส่งออกต่างประเทศ 70-100%) โดยถุงมือยางนั้นจะใช้การขนส่งโดยจ้างรถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ ขนาด 20 ฟุต 40 ฟุต และ 40 ฟุต ไฮคิว ตามปริมาณที่สั่งซื้อจากต่างประเทศ โดยขนส่งตู้คอนเทนเนอร์จากโรงงานไปที่ท่าเรือกรุงเทพฯ และแหลมฉบัง เพื่อรอส่งต่อทางเรือไปยังประเทศปลายทาง (ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และยุโรป) ส่วนการขนส่งยางแห้งสำเร็จรูปนั้นมีทั้งการขนส่งทางรถไฟและทางรถบรรทุก การขนส่งทางรถไฟจะบรรจุใส่ตู้คอนเทนเนอร์จากโรงงานและจ้างบริษัทขนส่งบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์จากโรงงานไปขึ้นรถไฟที่สถานีต่างๆ ประกอบด้วย สถานีชุมทางบ้านทุ่งโพธิ์ สถานีสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถานีชุมทางทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช หรือสถานีมาบอำมฤต สถานีสะพลี สถานีชุมพร จังหวัดชุมพร และส่งต่อไปที่ท่าเรือกรุงเทพฯเป็นหลัก เพื่อรอส่งต่อทางเรือไปยังประเทศปลายทาง (จีนเป็นหลัก) ส่วนบริษัทที่ใช้รถบรรทุกในการขนส่งนั้นจะจ้างรถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ขนส่งสินค้าจากโรงงานไปรอขึ้นเรือเพื่อส่งออกที่ท่าเรือกรุงเทพฯเลย ส่วนการขนส่งยางสำเร็จรูปภายในประเทศจะใช้รถบรรทุก 10 ล้อขนส่งยางจากโรงงานไปส่งโรงงานแปรรูปยางบริเวณกรุงเทพฯและปริมณฑล และภาคต่างๆ ปัจจุบันผู้ประกอบการในพื้นที่หลายเจ้าใช้การขนส่งยางพาราทางรถไฟเนื่องจากขนส่งทีละปริมาณมาก (ประมาณ 120 ตัน) จะมีค่าใช้จ่ายโดยรวมถูกกว่าใช้รถบรรทุก ส่วนผู้ประกอบการหลายเจ้าที่เหลือที่ไม่ใช้การขนส่งทางรถไฟเพราะสาเหตุหลายประการ เช่น ขนส่งทีละปริมาณไม่มาก 20-40 ตัน ใช้รถบรรทุกสะดวกและประหยัดกว่า จำนวนแคร่ของทางรถไฟไม่เพียงพอต่อการขนส่ง ไม่ทราบรายละเอียดและขั้นตอนต่างๆในการขนส่งทั้งระยะเวลาและค่าใช้จ่าย และบางเจ้าเคยใช้การขนส่งทางรถไฟแต่ปัจจุบันหันไปใช้รถบรรทุกในการขนส่งแทนเนื่องจากตู้คอนเทนเนอร์และแคร่ไม่เพียงพอต่อการขนส่ง ข้อมูลด้านการให้บริการต่างๆ เช่น ค่าใช้จ่ายจากการรถไฟฯไม่ชัดเจน ล่าช้าไม่ตรงเวลา และไม่รับผิดชอบในเรื่องการขนส่งสินค้าที่ดีพอ (สินค้ามีความชื้นเกินกำหนด) เป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..