ประวัติประตูท่าแพซึ่งตั้งอยู่ในปัจจุบันนี้ เทศบาลนครเชียงใหม่และกรมศิล การแปล - ประวัติประตูท่าแพซึ่งตั้งอยู่ในปัจจุบันนี้ เทศบาลนครเชียงใหม่และกรมศิล แอฟริกา วิธีการพูด

ประวัติประตูท่าแพซึ่งตั้งอยู่ในปัจจ

ประวัติ

ประตูท่าแพซึ่งตั้งอยู่ในปัจจุบันนี้ เทศบาลนครเชียงใหม่และกรมศิลปากรได้ร่วมกันสร้างขึ้นมาใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยอาศัยหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ประกอบกับภาพถ่ายประตูเมืองเชียงใหม่ประตูหนึ่ง ซึ่งถ่ายเมื่อปี พ.ศ. 2422

แต่เดิมประตูท่าแพที่ถูกเรียกกันในปัจจุบันนั้นมีนามว่า "ประตูเชียงเรือก" เพราะอยู่ใกล้หมู่บ้านเชียงเรือก สร้างขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพญามังราย มหาราช เมื่อแรกตั้งเมืองเชียงใหม่ เมื่อปีพ.ศ. 1839

ประตูท่าแพที่จริงแล้วในสมัยโบราณ คำว่า "เชียง" หมายถึง "เวียง" หรือ "เมือง" ส่วนคำว่า "เรือก" นั้นมีความหมายอีกอย่างหนึ่งว่า เรือ หรือ เฮือ ซึ่งหมายถึง พาหนะที่ใช้เดินทางไปมาทางแม่น้ำ คู ครอง ฝายเหมือง เป็นต้น ดังนี้ คำว่า "เชียงเรือก" หากพูดเป็นภาษาชาวบ้าน ก็อาจแปลออกมาได้เป็นเชียงเรือ หรือเวียงเรือ ซึ่งก็หมายถืงเมืองของเรือ ที่ขายของทางเรือ หรือสถานที่มีเรือมากก็ว่าได้ เหตุนี้ในสมัยต่อมาจึงถูกเรียกว่าท่าแพ ซึ่งก็มีความหมายเดิม คือที่จอดแพหรือเรือ มีความหมายเดียวกันคือ เมืองของเรือ ที่ขายของทางเรือ หรือสถานที่มีเรือมาก

ที่จริงประตูท่าแพนั้นมีอยู่ 2 ประตู โดยในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ ประตูท่าแพของจริงถูกเรียกวว่าประตูท่าแพชั้นนอก และเรียกประตูเชียงเรือก หรือประตูที่ตั้งอยู่ในสถานที่ปัจจุบันว่าประตูท่าแพชั้นใน ภายหลังรื้อประตูท่าแพชั้นนอก เหลือประตูท่าแพชั้นในจึงเรียกกันสั้น ๆ ทุกวันนี้ว่าประตูท่าแพ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (แอฟริกา) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติ

ประตูท่าแพซึ่งตั้งอยู่ในปัจจุบันนี้ เทศบาลนครเชียงใหม่และกรมศิลปากรได้ร่วมกันสร้างขึ้นมาใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยอาศัยหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ประกอบกับภาพถ่ายประตูเมืองเชียงใหม่ประตูหนึ่ง ซึ่งถ่ายเมื่อปี พ.ศ. 2422

แต่เดิมประตูท่าแพที่ถูกเรียกกันในปัจจุบันนั้นมีนามว่า "ประตูเชียงเรือก" เพราะอยู่ใกล้หมู่บ้านเชียงเรือก สร้างขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพญามังราย มหาราช เมื่อแรกตั้งเมืองเชียงใหม่ เมื่อปีพ.ศ. 1839

ประตูท่าแพที่จริงแล้วในสมัยโบราณ คำว่า "เชียง" หมายถึง "เวียง" หรือ "เมือง" ส่วนคำว่า "เรือก" นั้นมีความหมายอีกอย่างหนึ่งว่า เรือ หรือ เฮือ ซึ่งหมายถึง พาหนะที่ใช้เดินทางไปมาทางแม่น้ำ คู ครอง ฝายเหมือง เป็นต้น ดังนี้ คำว่า "เชียงเรือก" หากพูดเป็นภาษาชาวบ้าน ก็อาจแปลออกมาได้เป็นเชียงเรือ หรือเวียงเรือ ซึ่งก็หมายถืงเมืองของเรือ ที่ขายของทางเรือ หรือสถานที่มีเรือมากก็ว่าได้ เหตุนี้ในสมัยต่อมาจึงถูกเรียกว่าท่าแพ ซึ่งก็มีความหมายเดิม คือที่จอดแพหรือเรือ มีความหมายเดียวกันคือ เมืองของเรือ ที่ขายของทางเรือ หรือสถานที่มีเรือมาก

ที่จริงประตูท่าแพนั้นมีอยู่ 2 ประตู โดยในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ ประตูท่าแพของจริงถูกเรียกวว่าประตูท่าแพชั้นนอก และเรียกประตูเชียงเรือก หรือประตูที่ตั้งอยู่ในสถานที่ปัจจุบันว่าประตูท่าแพชั้นใน ภายหลังรื้อประตูท่าแพชั้นนอก เหลือประตูท่าแพชั้นในจึงเรียกกันสั้น ๆ ทุกวันนี้ว่าประตูท่าแพ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: