Architectural differences between the Thai culture with universal culture.5. the differences between the Thai culture with universal culture. When the society each social has created its own culture and has a unique identity. Located on the physical and social environment, or the socio-cultural context of each society, but society is just ones. With the same basic culture. Anthropologist and sociology, also known as "global culture (global culture)" despite the same basic culture. But each culture has different. So, for example, every society will have the language but the language of each community is different. Some of the social use of language, some Thai society in English and some Arabic language society is. Otherwise, had a single global culture, which is hunt wadai, the spread of culture over the culture and fight to the iphon onaekwa. Cause to accept and follow in other societies throughout all regions of the world. So in the end what has been called a global culture, such as short-term culture in English, with the current medicine electronics. Modern architecture, etc. By global culture is different from Thai culture in many areas. As follows: 1) focuses on the philosophy that "human nature" is ", nature can be blocked by the Commission to meet the needs of all human beings, such as travelling on two feet, so it takes a long time before the invention of cars, aircraft, it is a means of transportation rather than as the Thai culture, but for master of philosophy emphasizes that" a man should be a harmonious with nature "so popular with Thai people, creating a culture, in accordance with its nature. 2) focuses on the twin lokthat Everything breaks down into the Westerner 2 best always like a good Mono-a modern bad-obsolete is modified so that an attempt to modify the outdated facilities, modern. Good things to bad over While Thai culture emphasizes the holistic view of the world. No separate monochrome good-bad, but look at the world as a single one. There are several elements to sustain even the enhance balance around the world and peace. 3)เน้นวิธีการทางวิทยาศาตร์ ที่ตั้งอยู่บนเหตุผลของปัจจัยที่สามารถสัมผัสได้ โดยมีการตั้งสมมติฐาน พิสูจน์ปัจจัยต่างๆ ว่าเป็นตามสมมติฐานหรือไม่ วิเคราะห์ สังเคราะห์ให้ได้รับความรู้ใหม่ๆ เพื่อนำไปสร้างทฤษฎีและนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ดังนั้น ชาติตะวันตกจึงสามารถสร้างเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีชั้นสูง แต่สำหรับวัฒนธรรมไทยแม้นว่าจะอยู่บนพื้นฐานทางวิทยาศาตร์เช่นกัน แต่มักเน้นการนำปัจจัยทีสัมผัสได้มาศึกษาร่วมกับปัจจัยทางจิตใจและตามความคิดเชื่อของหลักธรรมทางศาสนาควบคู่ไปด้วย เพราะวัฒนธรรมไทยสท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่โยงใยกัน 3 ด้าย คือ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับโลก สิ่งแวดล้อม พืช และ สัตว์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ หรือระหว่างตัวเรากับคนอื่นๆที่อาศัยอยู่ร่วมกันในสังคม 3. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งศักสิทธิ์และอำนาจนอกเหนือธรรมชาติ ทำให้วัฒนธรรมไทยมีขอบเขตที่กว้างขว้าง ครอบคลุมความสัมพันธ์ทุกประเภทของกรดำเนินชีวิตของคนในสังคม ทั้งทีเป็นรูปธรรมและนามธรรม 6. แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยที่ดีงาม สังคมและวัฒนธรรมไม่ได้หยุดนิ่งอยู่กับที่ แต่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาและเกี่ยวพันกับปัจจัยภายในและภายนอกที่เข้ามากระทบ ดังนั้นวัฒนธรรมอาจเหมาะสมกับสภาพสังคมในยุคหนึ่ง แต่อาจไม่สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตของคนในสังคมในอีกยุคหนึ่งก็ได้ แต่ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงไม่ได้หมายถึงการละทิ้งวัฒนธรรมของตนไปอย่างชิ้นเชิง และหันไปรับวัฒนธรรมของสังคมอื่นมาใช้ทั้งหมด เพราะรากเหง้าของวัฒนธรรมไทยได้สร้างและสั่งสมมาให้สอดคล้องกับสังคมไทยมาช้านาน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอาจเป็นผลมาจากลักษณะบางอย่างไม่ตอบสนองความต้องการของสมาชิกในปัจจุบัน จึงได้นำสิ่งประดิษฐ์มาคิดค้นใหม่ หรือหยิบยืมวัฒนธรรมของต่างชาติมาใช้ทดแทนบ้าง แต่เราก็มีความจำเป็นที่จะต้องมีการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยเอาไว้ เพราะหารไม่มีการอนุรักษ์แล้ว วัฒนธรรมของสังคมอื่นๆก็จะเข้ามาครอบงำและจะต้องตกเป็นเมืองขึ้นทางวัฒนธรรมของสังคมอื่นไป การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย เราอาจจะมองได้ 2 ระดับ ระดับที่หนึ่ง คือ การอนุรักษ์สงวนรักษาวัฒนธรรมที่ดีงามของไทยให้คงอยู่ตลอดไป ส่วนระดับที่สอง คือ คนไทยจะต้องพัฒนาต่อยอดวัฒนธรรมของตนให้ทันสมัย สอดคล้องกับสภาพสังคมในยุคปัจจุบัน วัฒนธรรมประจำชาติท้องถิ่น จัดเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูง ควรค่าแก่การอนุรักษ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งขนบธรรมเนียมประเพณี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภาษาวัตถุ ภาษา วรรณกรรม และภูมิปัญญา ซื่งได้ได้บรรลุและสั่งสมความรู้ ความหมาย และคุณค่าทางวัฒนธรรมที่มีมาแต่อดีตให้คนรุ่นต่อมาได้เรียนรู้ เพื่อรู้จักตนเองและมีความภูมิใจในความเป็นชาติไทย โดยส่วนรวมสิ่งเหล่านี้สูญหายไป หากขาดการเอาใจใส่ในการอนุรักษ์และส่งเสริมในทางที่ถูกที่ควร
ซื่งแนวทางในการอนุรักษ์วัฒนธรรม มีดังนี้
1. ศึกษา ค้นคว้า และวิจัย วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ได้มีการรวบรวมไว้แล้วและที่ยังไม่ได้ศึกษา แต่มีกระจัดกระจายอยู่ทั่วทุกแห่ง ผู้ศึกษาค้นคว้าจะได้ทราบความหมายและความสำคัญของมรดกวัฒนธรรมอย่างถ่องแท้ ความรู้ดังกว่าจะเป็นรากฐานของการดำเนินชีวิตเมื่อได้เห็นคุณค่าจะยอมรับและนำไปใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมและแพร่หลาย
2. ส่งเสริมให้ชนทุกหมู่เหล่าเห็นคุณค่า และร่วมกันรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่น เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ประชาชนในการปรับเปลี่ยน และตอบสนองกระแสวัฒนธรรมอื่นๆ และวัฒนธรรมภายนอกอย่างเหมาะสม
3. ขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมในวัฒนธรรม รณรงค์ให้ประชาชนและเอกชนตลอดจนหน่วยงานของรัฐเห็นความสำคัญและตระหนักว่าวัฒนธรรมเป็นเรื่องของทุกคนที่จะต้องรับผิดชอบร่วมกันในการส่งเสริม สนับสนุน แระสานงาน การบริการด้านความรู้ วิชาการ และทุนทรัพย์จัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม
4.ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเ
การแปล กรุณารอสักครู่..