ประเพณีการเทศน์มหาชาติ ประเพณีการเทศน์มหาชาติจัดเป็นการทำบุญที่สำคัญแล การแปล - ประเพณีการเทศน์มหาชาติ ประเพณีการเทศน์มหาชาติจัดเป็นการทำบุญที่สำคัญแล อังกฤษ วิธีการพูด

ประเพณีการเทศน์มหาชาติ ประเพณีการเท

ประเพณีการเทศน์มหาชาติ
ประเพณีการเทศน์มหาชาติจัดเป็นการทำบุญที่สำคัญและมีความหมายมากที่สุดในสังคมไทยเนื่องจากเป็นประเพณีของพุทธศาสนิกชนชาวไทยที่ทำสืบเนื่องมาแต่โบราณจนถึงปัจจุบันเพราะความเชื่อว่าถ้าผู้ใดได้ฟังเทศน์มหาชาติแล้วจะได้กุศลแรง และหากใครตั้งใจฟังให้จบในวันเดียวจะได้เกิดร่วมและพบพระศรีอริยเมตตรัยโพธิสัตว์ซึ่งจะมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงโปรดฯให้ประชุมสงฆ์ นักปราชญ์ราชบัณฑิตแปลและแต่งมหาชาติคำหลวงขึ้นเป็นภาษาไทยเมื่อ พ.ศ.๒๐๒๕ สำหรับสวดในพระราชพิธีเข้าพรรษาและสวดให้อุบาสกอุบาสิกาฟังระหว่างพรรษา
เรื่องราวของมหาชาติชาดกมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อพุทธศาสนิกชน เพราะถือว่าเป็นตอนที่พระพุทธเจ้าเสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรอันเป็นพระชาติสุดท้ายที่ทรงบำเพ็ญพระบารมีครบ๑๐ ประการ ก่อนจะทรงตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณ ด้วยทานบารมีชั้นสุดยอดที่ยากยิ่งจึงเรียกว่า มหาชาติ
ความนิยมและความสำคัญของเรื่องมหาชาติชาดก ปรากฏให้เห็นได้จากวรรณกรรมที่แต่งขึ้นมากมาย ทั้งต่างสำนวนและต่างยุคสมัย เฉพาะที่เป็นฉบับหลวงก็มีมากมายในลักษณะของรูปแบบคำประพันธ์ต่างๆ นอกจากนี้ยังมีมหาชาติฉบับท้องถิ่นต่างๆ อีก เช่น ทางภาคเหนือมีมหาชาติภาคพายัพเขียนเป็นภาษาล้านนามีหลายฉบับและหลาย สำนวน ทางภาคอีสานมีมหาชาติคำเฉียง ส่วนทางภาคใต้มีมหาชาติชาดกฉบับวัดมัชฌิมาวาสสงขลาเป็นต้น และยังมีมหาชาติสำนวนต่างๆ อีกมากมายที่แต่งกันเองโดยอิสระกระจายอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ ประเพณีการฟังเทศน์มหาชาติจึงปรากฏในสังคมไทยทุกภูมิภาคทั้งในราชสำนัก และในหมู่ประชาชนทั่วไป
ในราชสำนัก ปรากฏเป็นพระราชพิธีในวังหลวงมาแต่สมัยสุโขทัยแล้ว ในสมัยอยุธยาพระมหากษัตริย์ถึงกับทรงโปรดฯ ให้สร้างพระที่นั่งทรงธรรม ด้วยพระราชประสงค์ให้เป็นที่ทรงธรรมในงานพระราชพิธีเทศน์มหาชาติ พระราชพิธีนี้สืบเนื่องมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงเกณฑ์พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ ทำกระจาดใหญ่บูชากัณฑ์เทศนาคราวหนึ่ง แม้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ครั้งที่ทรงดำรงอยู่ในสมณเพศก็ทรงหัดเทศน์กัณฑ์มัทรี จนกลายเป็นธรรมเนียมให้พระราชโอรสถวายเทศน์มหาชาติในวังหลวง
ในท้องถิ่น โดยเฉพาะในเขตภาคอีสานถือเป็นงานบุญที่ยิ่งใหญ่สำคัญที่สุดของปี จะจัดขึ้นในราวเดือน ๔ เรียกว่า บุญพระเวส ทั้งยังมีประเพณีเกี่ยวเนื่องกับเทศกาลนี้ด้วย เช่น พิธีแห่พระเวสเข้าเมืองและพิธีแห่ข้าวพันก้อนเพื่อบูชาคาถาพัน ทางภาคเหนือก็ให้ความสำคัญกับการเทศน์มหาชาติมาก เห็นได้จากมีประเพณีสร้างหลาบเงินหรือแผ่นเงินแกะลาย แขวนห้อยรอบฉัตร ถวายเป็นเครื่องขันธ์ตั้งธรรมหลวงในงานบุญเทศน์มหาชาติ แผ่นเงินเหล่านี้จะจำหลักเป็นรูป ลวดลายต่างๆ ส่วนทางภาคใต้นั้นประเพณีเทศน์มหาชาติได้คลี่คลายไปเป็นประเพณีสวดด้านซึ่งคล้ายคลึงกับการสวดโอ้เอ้วิหารรายอย่างกรุงเทพฯ ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
จะเห็นว่าประเพณีเทศน์มหาชาติที่เป็นประเพณีหลวง ได้ส่งผลกระทบต่อประเพณีราษฎร์อย่างกว้างขวาง แต่ท้องถิ่นได้พัฒนารูปแบบการเทศน์และประเพณีต่างๆ ให้แตกต่างไป เพื่อให้สอดคล้องกับธรรมเนียมท้องถิ่นที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาค ในภาคกลางจะคงลักษณะสำคัญของประเพณีหลวงไว้มาก เช่น ในการเทศน์มักจะมีปี่พาทย์ประโคมขณะดำเนินพิธีตามแบบของหลวงด้วย เชื่อว่าเป็นการเสริมศรัทธาให้เกิดความปีติในผลบุญที่ได้บำเพ็ญ กับทั้งเป็นเครื่องเตือนใจให้ผู้ที่ได้ยินเสียงปี่พาทย์ได้ทราบว่ากำลังมีพิธีเทศน์มหาชาติอยู่ ผู้ใดรับกัณฑ์เทศน์ใดไว้จะได้ตระเตรียมตัวได้ทัน ปี่พาทย์ในงานเทศน์มหาชาติจะเริ่มด้วยเพลงโหมโรงและกำหนดเพลงปี่พาทย์ประจำกัณฑ์ไว้ ซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์ตามแบบหลวงที่มีความศักดิ์สิทธิ์และถือเป็นเพลงชั้นสูงทั้งสิ้น เช่น กัณฑ์ทศพร ใช้เพลงสาธุการ กัณฑ์หิมพานต์ใช้เพลงตวงพระธาตุ เป็นต้น
การเทศน์มหาชาติในส่วนที่เป็นประเพณีราษฎร์ นอกจากจะรักษาขนบแบบราชสำนักที่เน้นความศักดิ์สิทธิ์แล้ว ยังแฝงด้วยความสนุกสนานและการละเล่นแทรกอยู่ด้วย เช่น พระที่เทศน์มหาชาติกัณฑ์ต่างๆ อาจว่าแหล่เพื่อให้ผู้ฟังได้รสยิ่งขึ้น แหล่ต่างๆ ที่มีประจำกัณฑ์ที่เรียกว่าแหล่นอกนี้จะแต่งเป็นพิเศษนอกเนื้อเรื่องพระเวสสันดรก็ได้ หรือชาวบ้านในบางท้องที่แถบภาคกลางจะมีการเล่นมหาชาติทรงเครื่องเวลามีพิธีเทศน์มหาชาติ ซึ่งชาวบ้านจะรับมาจากวัดและไปเล่นกันเอง ต่อมาชาวบ้านกลับไปชวนพระมาเล่นด้วยกัน จึงเป็นการเล่นระหว่างแม่เพลงที่มีเสียงดีที่มักรับบทเป็นพระนางผุสดี หรือ พระ-นางมัทรี กับพระที่มักจะรับบทพระเวสสันดรและชูชก เป็นต้น
จะเห็นได้ว่าคติธรรมต่อการดำเนินชีวิตตามหลักพุทธศาสนา โดยเฉพาะคติของการทำบุญให้ทาน การกลับชาติมาเกิดของพระโพธิสัตว์คือพระเวสสันดร ความเชื่อเรื่องบุญ-กรรมอยู่ในสำนึกของชาวไทยทั้งสังคม ด้วยอิทธิพลของมหา ชาติชาดกที่มีบทบาทอย่างสูงในการสร้างบูรณาการทางศาสนาให้เกิดขึ้นต่อชาวไทยทุกภูมิภาคมาเป็นเวลาช้านานแล้ว พระสงฆ์เป็นผู้มีบทบาทอย่างยิ่งต่อกระบวนการเชื่อมต่อประเพณีหลวงสู่ประเพณีราษฎร์ ทำให้เกิดความกลมกลืนในทางวัฒนธรรมที่มีพระพุทธศาสนาเป็นสัญลักษณ์แห่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ร่วมกันท่ามกลางคติความเชื่อในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน
ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างประเพณีหลวงและประเพณีราษฎร์ที่เห็นจากประเพณีการเทศน์มหาชาติ แสดงให้เห็นถึงเจตนาในการพยายามเผยแพร่ประเพณีหลวงสู่ท้องถิ่นโดยตรง อิทธิพลของประเพณีหลวงที่ส่งต่อประเพณีราษฎร์กระทำโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางสังคมที่มีวัดเป็นศูนย์กลางในการให้การศึกษาและอบรมสั่งสอนสอดแทรกค่านิยมจากราชสำนักที่เน้นแบบแผนที่เป็นระเบียบให้คล้ายคลึงกัน แต่ความโน้มเอียงของประเพณีราษฎร์ที่จะเลียนแบบประเพณีหลวงตามธรรมชาติของการยกย่องแบบแผนจากราชสำนักเป็นพื้นเดิมของสังคมชาวนาอยู่แล้ว ทำให้ประเพณีหลวงบางอย่างกลายเป็นสิ่งที่ประชาชนต้องการเอาอย่างโดยที่ราชสำนักเองไม่ได้มีเจตนาหรือต้องการจะมีอิทธิพลแต่ประการใดดังจะยกประเพณีการเผาศพมาเป็นกรณีตัวอย่างให้เห็นพอสังเขป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีการเทศน์มหาชาติ ประเพณีการเทศน์มหาชาติจัดเป็นการทำบุญที่สำคัญและมีความหมายมากที่สุดในสังคมไทยเนื่องจากเป็นประเพณีของพุทธศาสนิกชนชาวไทยที่ทำสืบเนื่องมาแต่โบราณจนถึงปัจจุบันเพราะความเชื่อว่าถ้าผู้ใดได้ฟังเทศน์มหาชาติแล้วจะได้กุศลแรง และหากใครตั้งใจฟังให้จบในวันเดียวจะได้เกิดร่วมและพบพระศรีอริยเมตตรัยโพธิสัตว์ซึ่งจะมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงโปรดฯให้ประชุมสงฆ์ นักปราชญ์ราชบัณฑิตแปลและแต่งมหาชาติคำหลวงขึ้นเป็นภาษาไทยเมื่อ พ.ศ.๒๐๒๕ สำหรับสวดในพระราชพิธีเข้าพรรษาและสวดให้อุบาสกอุบาสิกาฟังระหว่างพรรษา Including the Jataka stories are crucial because they are considered as Buddhist monks take part is the tenth bodhisattva is the God of Nations Lord of Nations final full practice prabaramee 10 tank. Secondly, before he is well samphothi the Lord Buddha of enlightenment. With the top layer that influence eating difficult, so called, including the. ความนิยมและความสำคัญของเรื่องมหาชาติชาดก ปรากฏให้เห็นได้จากวรรณกรรมที่แต่งขึ้นมากมาย ทั้งต่างสำนวนและต่างยุคสมัย เฉพาะที่เป็นฉบับหลวงก็มีมากมายในลักษณะของรูปแบบคำประพันธ์ต่างๆ นอกจากนี้ยังมีมหาชาติฉบับท้องถิ่นต่างๆ อีก เช่น ทางภาคเหนือมีมหาชาติภาคพายัพเขียนเป็นภาษาล้านนามีหลายฉบับและหลาย สำนวน ทางภาคอีสานมีมหาชาติคำเฉียง ส่วนทางภาคใต้มีมหาชาติชาดกฉบับวัดมัชฌิมาวาสสงขลาเป็นต้น และยังมีมหาชาติสำนวนต่างๆ อีกมากมายที่แต่งกันเองโดยอิสระกระจายอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ ประเพณีการฟังเทศน์มหาชาติจึงปรากฏในสังคมไทยทุกภูมิภาคทั้งในราชสำนัก และในหมู่ประชาชนทั่วไป ในราชสำนัก ปรากฏเป็นพระราชพิธีในวังหลวงมาแต่สมัยสุโขทัยแล้ว ในสมัยอยุธยาพระมหากษัตริย์ถึงกับทรงโปรดฯ ให้สร้างพระที่นั่งทรงธรรม ด้วยพระราชประสงค์ให้เป็นที่ทรงธรรมในงานพระราชพิธีเทศน์มหาชาติ พระราชพิธีนี้สืบเนื่องมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงเกณฑ์พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ ทำกระจาดใหญ่บูชากัณฑ์เทศนาคราวหนึ่ง แม้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ครั้งที่ทรงดำรงอยู่ในสมณเพศก็ทรงหัดเทศน์กัณฑ์มัทรี จนกลายเป็นธรรมเนียมให้พระราชโอรสถวายเทศน์มหาชาติในวังหลวง ในท้องถิ่น โดยเฉพาะในเขตภาคอีสานถือเป็นงานบุญที่ยิ่งใหญ่สำคัญที่สุดของปี จะจัดขึ้นในราวเดือน ๔ เรียกว่า บุญพระเวส ทั้งยังมีประเพณีเกี่ยวเนื่องกับเทศกาลนี้ด้วย เช่น พิธีแห่พระเวสเข้าเมืองและพิธีแห่ข้าวพันก้อนเพื่อบูชาคาถาพัน ทางภาคเหนือก็ให้ความสำคัญกับการเทศน์มหาชาติมาก เห็นได้จากมีประเพณีสร้างหลาบเงินหรือแผ่นเงินแกะลาย แขวนห้อยรอบฉัตร ถวายเป็นเครื่องขันธ์ตั้งธรรมหลวงในงานบุญเทศน์มหาชาติ แผ่นเงินเหล่านี้จะจำหลักเป็นรูป ลวดลายต่างๆ ส่วนทางภาคใต้นั้นประเพณีเทศน์มหาชาติได้คลี่คลายไปเป็นประเพณีสวดด้านซึ่งคล้ายคลึงกับการสวดโอ้เอ้วิหารรายอย่างกรุงเทพฯ ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
จะเห็นว่าประเพณีเทศน์มหาชาติที่เป็นประเพณีหลวง ได้ส่งผลกระทบต่อประเพณีราษฎร์อย่างกว้างขวาง แต่ท้องถิ่นได้พัฒนารูปแบบการเทศน์และประเพณีต่างๆ ให้แตกต่างไป เพื่อให้สอดคล้องกับธรรมเนียมท้องถิ่นที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาค ในภาคกลางจะคงลักษณะสำคัญของประเพณีหลวงไว้มาก เช่น ในการเทศน์มักจะมีปี่พาทย์ประโคมขณะดำเนินพิธีตามแบบของหลวงด้วย เชื่อว่าเป็นการเสริมศรัทธาให้เกิดความปีติในผลบุญที่ได้บำเพ็ญ กับทั้งเป็นเครื่องเตือนใจให้ผู้ที่ได้ยินเสียงปี่พาทย์ได้ทราบว่ากำลังมีพิธีเทศน์มหาชาติอยู่ ผู้ใดรับกัณฑ์เทศน์ใดไว้จะได้ตระเตรียมตัวได้ทัน ปี่พาทย์ในงานเทศน์มหาชาติจะเริ่มด้วยเพลงโหมโรงและกำหนดเพลงปี่พาทย์ประจำกัณฑ์ไว้ ซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์ตามแบบหลวงที่มีความศักดิ์สิทธิ์และถือเป็นเพลงชั้นสูงทั้งสิ้น เช่น กัณฑ์ทศพร ใช้เพลงสาธุการ กัณฑ์หิมพานต์ใช้เพลงตวงพระธาตุ เป็นต้น
การเทศน์มหาชาติในส่วนที่เป็นประเพณีราษฎร์ นอกจากจะรักษาขนบแบบราชสำนักที่เน้นความศักดิ์สิทธิ์แล้ว ยังแฝงด้วยความสนุกสนานและการละเล่นแทรกอยู่ด้วย เช่น พระที่เทศน์มหาชาติกัณฑ์ต่างๆ อาจว่าแหล่เพื่อให้ผู้ฟังได้รสยิ่งขึ้น แหล่ต่างๆ ที่มีประจำกัณฑ์ที่เรียกว่าแหล่นอกนี้จะแต่งเป็นพิเศษนอกเนื้อเรื่องพระเวสสันดรก็ได้ หรือชาวบ้านในบางท้องที่แถบภาคกลางจะมีการเล่นมหาชาติทรงเครื่องเวลามีพิธีเทศน์มหาชาติ ซึ่งชาวบ้านจะรับมาจากวัดและไปเล่นกันเอง ต่อมาชาวบ้านกลับไปชวนพระมาเล่นด้วยกัน จึงเป็นการเล่นระหว่างแม่เพลงที่มีเสียงดีที่มักรับบทเป็นพระนางผุสดี หรือ พระ-นางมัทรี กับพระที่มักจะรับบทพระเวสสันดรและชูชก เป็นต้น
จะเห็นได้ว่าคติธรรมต่อการดำเนินชีวิตตามหลักพุทธศาสนา โดยเฉพาะคติของการทำบุญให้ทาน การกลับชาติมาเกิดของพระโพธิสัตว์คือพระเวสสันดร ความเชื่อเรื่องบุญ-กรรมอยู่ในสำนึกของชาวไทยทั้งสังคม ด้วยอิทธิพลของมหา ชาติชาดกที่มีบทบาทอย่างสูงในการสร้างบูรณาการทางศาสนาให้เกิดขึ้นต่อชาวไทยทุกภูมิภาคมาเป็นเวลาช้านานแล้ว พระสงฆ์เป็นผู้มีบทบาทอย่างยิ่งต่อกระบวนการเชื่อมต่อประเพณีหลวงสู่ประเพณีราษฎร์ ทำให้เกิดความกลมกลืนในทางวัฒนธรรมที่มีพระพุทธศาสนาเป็นสัญลักษณ์แห่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ร่วมกันท่ามกลางคติความเชื่อในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน
ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างประเพณีหลวงและประเพณีราษฎร์ที่เห็นจากประเพณีการเทศน์มหาชาติ แสดงให้เห็นถึงเจตนาในการพยายามเผยแพร่ประเพณีหลวงสู่ท้องถิ่นโดยตรง อิทธิพลของประเพณีหลวงที่ส่งต่อประเพณีราษฎร์กระทำโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางสังคมที่มีวัดเป็นศูนย์กลางในการให้การศึกษาและอบรมสั่งสอนสอดแทรกค่านิยมจากราชสำนักที่เน้นแบบแผนที่เป็นระเบียบให้คล้ายคลึงกัน แต่ความโน้มเอียงของประเพณีราษฎร์ที่จะเลียนแบบประเพณีหลวงตามธรรมชาติของการยกย่องแบบแผนจากราชสำนักเป็นพื้นเดิมของสังคมชาวนาอยู่แล้ว ทำให้ประเพณีหลวงบางอย่างกลายเป็นสิ่งที่ประชาชนต้องการเอาอย่างโดยที่ราชสำนักเองไม่ได้มีเจตนาหรือต้องการจะมีอิทธิพลแต่ประการใดดังจะยกประเพณีการเผาศพมาเป็นกรณีตัวอย่างให้เห็นพอสังเขป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The tradition of gonad
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: