ประเพณี ปอยหลวงภาคเหนือ จังหวัด เชียงราย ช่วงเวลา จากเดือน ๕ จนถึงเดือ การแปล - ประเพณี ปอยหลวงภาคเหนือ จังหวัด เชียงราย ช่วงเวลา จากเดือน ๕ จนถึงเดือ อังกฤษ วิธีการพูด

ประเพณี ปอยหลวงภาคเหนือ จังหวัด เชี

ประเพณี ปอยหลวง
ภาคเหนือ
จังหวัด เชียงราย



ช่วงเวลา จากเดือน ๕ จนถึงเดือน ๗ เหนือ (ตรงกับเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายนหรือเดือนพฤษภาคมของทุกปี) ระยะเวลาประมาณ ๓-๗ วัน

ความสำคัญ
ประเพณีงานปอยหลวงเป็นงานทำบุญเพื่อเฉลิมฉลองศาสนสมบัติต่าง ๆ เพื่อให้เกิดอานุสงส์แก่ตนและครอบครัว ถือว่าได้บุญกุศลแรงมาก นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องแสดงถึงความสามัคคีกลมเกลียวของคณะสงฆ์และชาวบ้านด้วยเพราะเป็นงานใหญ่ การทำบุญปอยหลวงที่นิยมทำกันคือทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย หรือญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้วก็ได้ สิ่งสำคัญที่ได้จากการทำบุญงานปอยหลวงอีกอย่างหนึ่งก็คือ การแสดงความชื่นชมยินดีร่วมกันเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลินให้แก่คนในท้องถิ่นโดยการจัดมหรสพสมโภชเพราะหนึ่งปีถึงจะได้มีโอกาสได้เฉลิมฉลองถาวรวัตถุต่างๆ ได้ หรือบางแห่งอาจใช้เวลาหลายปีเพราะสิ่งปลูกสร้างบางอย่างใช้เวลาสร้างนานมาก สิ้นเปลืองเงินทองมหาศาล จะต้องรอให้สร้างเสร็จและมีเงินจึงจะจัดงานเฉลิมฉลองเป็นงานปอยหลวงขึ้นมาได้

พิธีกรรม
ก่อนงานปอยหลวง ๑ วันเรียกว่า วันดา ชาวบ้านจะนำสิ่งของที่ซื้อไว้ไปรวมกันที่วัด เรียกว่า รวมครัว โดยตกแต่งประดิษฐ์ประดอยให้สวยงาม ตามแต่จะคิดขึ้น เรียกสิ่งที่ตกแต่งนี้ว่า ครัวทาน หรือ คัวตาน เพื่อแห่ไปยังวัดที่จะจัดงานปอยหลวง ส่วนวัดที่จะจัดงานปอยหลวง คณะกรรมการจัดงานจะจัดทำตุงตุงยาว และช่อช้าง นำไปทานและปักไว้บนเสาไม้ไผ่ ซึ่งปักไว้สองข้างทางเข้าสู่วัดเพื่อเป็นสัญลักษณ์ว่าวัดนี้จะมีงานปอยหลวง ในตอนเย็นวันเดียวกันก็จะนิมนต์พระอุปคุต (ก้อนหิน) จากท่าน้ำใกล้วัด โดยอัญเชิญมาไว้ที่หออุปคุต ซึ่งมีลักษณะเหมือนศาลเพียงตาพร้อมเสื่อ หมอน น้ำต้น (คนโท)ขันดอกไม้ ธูปเทียน การนำก้อนหินซึ่งสมมุติเป็นพระอุปคุตมาจากแม่น้ำ เพราะมีความเชื่อว่าพระอุปคุตสามารถปกป้องคุ้มครองให้งานสำเร็จราบรื่น ปลอดภัยจากเหตุร้ายต่างๆ พระอุปคุตนี้เมื่อเสร็จงานแล้วต้องนิมนต์ท่านกลับไปอยู่ที่กลางน้ำเหมือนเดิม
เมื่อถึงวันงานบุญปอยหลวง ในวันแรกจะเป็นครัวทานหรือเครื่องไทยทานของชาวบ้านที่เป็นศรัทธาของวัดที่มีงานแห่ปอยหลวงเข้าวัดก่อน ส่วนวันต่อไปก็จะมีคณะศรัทธาหัววัดต่างๆ จัดขบวนแห่เครื่องไทยทานมาจากวัดของตนเองไปร่วมทำบุญงานปอยหลวงด้วย ขบวนแห่ครัวทานมักจะมีสาวงามฟ้อนเล็บนำขบวนด้วย ชาวเหนือถือว่าหากใครได้ฟ้อนนำครัวทานเข้าวัดแล้วจะได้อานิสงส์มาก เกิดไปในภายหน้าจะมีรูปร่างหน้าตางดงามยิ่งขึ้น
เมื่อขบวนแห่ครัวทานเข้ามาในวัดแล้วจะมีการเลี้ยงดูแขกที่มาจากต่างบ้าน การเลี้ยงอาหารชาวบ้านจะทำหลังเวลาถวายเพลพระภิกษุสามเณร ส่วนครัวทานที่แห่มาถึงวัดในช่วงบ่ายเจ้าภาพก็จะมีการเลี้ยงของว่าง และน้ำดื่ม มีหมาก เมี่ยง บุหรี่เจ้าภาพจะจัดเตรียมไว้ทุกๆ วันจนกว่าจะเสร็จงาน
ส่วนคณะสงฆ์ที่เดินทางมายังวัดของเจ้าภาพทางวัดจะเตรียมการต้อนรับให้เป็นพิเศษ เรียกว่า "เกณฑ์รับหัววัด" เมื่อบอกบุญไปกี่วัดก็เตรียมของไว้ต้อนรับเท่านั้น รวมทั้งพระสงฆ์ที่นิมนต์มาทำพิธีสวดเบิกในวันสุดท้ายด้วย เมื่อคณะศรัทธาหัววัดต่างๆ มาถวายเครื่องไทยทาน พระสงฆ์ที่คอยต้อนรับจะให้ศีลให้พรตามธรรมเนียม พระที่จะให้ศีลนั้นควรเป็นพระที่อาวุโสที่สุดหรือพระที่ชาวบ้านเคารพเลื่อมใส
วันสุดท้ายของงานจะมีความสนุกสนานเป็นพิเศษ บางแห่งคณะศรัทธาของแต่ละบ้านนำครัวทานของตนที่จัดขึ้นหรือรวมกลุ่มกัน จัดเครื่องครัวทานแล้วนำไปถวายวัด คณะสงฆ์จะมีพิธีเจริญพระพุทธมนต์และมีการสวด อบรมสมโภช หรือสวดเบิก ซึ่งเป็นการสวดที่ไพเราะน่าฟังมาก ยังมีการเทศน์บอกกล่าวถึงอานิสงส์ของการก่อสร้างอีกด้วย ในวันรุ่งขึ้นก็มีการทำบุญตักบาตรถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุ สามเณร มีอาจารย์วัดกล่าวถวายสิ่งปลูกสร้างที่ชาวบ้านได้ร่วมกันสร้างมา เสร็จแล้วก็ถวายเครื่องไทยธรรมแด่พระสงฆ์ที่มาร่วมพิธี พระสงฆ์ให้ศีลให้พรแด่คณะศรัทธาที่มาร่วมงานก็เป็นอันเสร็จพิธีทำบุญปอยหลวง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
POY Luang tradition.North. Chiang Rai province. The interval from 5 until 7 months (February to April or may of each year) period, approximately 3-7 days.Priority.ประเพณีงานปอยหลวงเป็นงานทำบุญเพื่อเฉลิมฉลองศาสนสมบัติต่าง ๆ เพื่อให้เกิดอานุสงส์แก่ตนและครอบครัว ถือว่าได้บุญกุศลแรงมาก นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องแสดงถึงความสามัคคีกลมเกลียวของคณะสงฆ์และชาวบ้านด้วยเพราะเป็นงานใหญ่ การทำบุญปอยหลวงที่นิยมทำกันคือทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย หรือญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้วก็ได้ สิ่งสำคัญที่ได้จากการทำบุญงานปอยหลวงอีกอย่างหนึ่งก็คือ การแสดงความชื่นชมยินดีร่วมกันเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลินให้แก่คนในท้องถิ่นโดยการจัดมหรสพสมโภชเพราะหนึ่งปีถึงจะได้มีโอกาสได้เฉลิมฉลองถาวรวัตถุต่างๆ ได้ หรือบางแห่งอาจใช้เวลาหลายปีเพราะสิ่งปลูกสร้างบางอย่างใช้เวลาสร้างนานมาก สิ้นเปลืองเงินทองมหาศาล จะต้องรอให้สร้างเสร็จและมีเงินจึงจะจัดงานเฉลิมฉลองเป็นงานปอยหลวงขึ้นมาได้Rituals.ก่อนงานปอยหลวง ๑ วันเรียกว่า วันดา ชาวบ้านจะนำสิ่งของที่ซื้อไว้ไปรวมกันที่วัด เรียกว่า รวมครัว โดยตกแต่งประดิษฐ์ประดอยให้สวยงาม ตามแต่จะคิดขึ้น เรียกสิ่งที่ตกแต่งนี้ว่า ครัวทาน หรือ คัวตาน เพื่อแห่ไปยังวัดที่จะจัดงานปอยหลวง ส่วนวัดที่จะจัดงานปอยหลวง คณะกรรมการจัดงานจะจัดทำตุงตุงยาว และช่อช้าง นำไปทานและปักไว้บนเสาไม้ไผ่ ซึ่งปักไว้สองข้างทางเข้าสู่วัดเพื่อเป็นสัญลักษณ์ว่าวัดนี้จะมีงานปอยหลวง ในตอนเย็นวันเดียวกันก็จะนิมนต์พระอุปคุต (ก้อนหิน) จากท่าน้ำใกล้วัด โดยอัญเชิญมาไว้ที่หออุปคุต ซึ่งมีลักษณะเหมือนศาลเพียงตาพร้อมเสื่อ หมอน น้ำต้น (คนโท)ขันดอกไม้ ธูปเทียน การนำก้อนหินซึ่งสมมุติเป็นพระอุปคุตมาจากแม่น้ำ เพราะมีความเชื่อว่าพระอุปคุตสามารถปกป้องคุ้มครองให้งานสำเร็จราบรื่น ปลอดภัยจากเหตุร้ายต่างๆ พระอุปคุตนี้เมื่อเสร็จงานแล้วต้องนิมนต์ท่านกลับไปอยู่ที่กลางน้ำเหมือนเดิมเมื่อถึงวันงานบุญปอยหลวง ในวันแรกจะเป็นครัวทานหรือเครื่องไทยทานของชาวบ้านที่เป็นศรัทธาของวัดที่มีงานแห่ปอยหลวงเข้าวัดก่อน ส่วนวันต่อไปก็จะมีคณะศรัทธาหัววัดต่างๆ จัดขบวนแห่เครื่องไทยทานมาจากวัดของตนเองไปร่วมทำบุญงานปอยหลวงด้วย ขบวนแห่ครัวทานมักจะมีสาวงามฟ้อนเล็บนำขบวนด้วย ชาวเหนือถือว่าหากใครได้ฟ้อนนำครัวทานเข้าวัดแล้วจะได้อานิสงส์มาก เกิดไปในภายหน้าจะมีรูปร่างหน้าตางดงามยิ่งขึ้นWhen the procession arrived in the temple kitchen, eat, and then would have to be raised from foreign guests come to the House. Meals are made after the villagers consecrated monks and novices phlepra. Kitchen-eat at the parade in the afternoon to reach the host will have to feed and water are MAK. The host will be prepared and wrapped cigarettes every day until it is finished.ส่วนคณะสงฆ์ที่เดินทางมายังวัดของเจ้าภาพทางวัดจะเตรียมการต้อนรับให้เป็นพิเศษ เรียกว่า "เกณฑ์รับหัววัด" เมื่อบอกบุญไปกี่วัดก็เตรียมของไว้ต้อนรับเท่านั้น รวมทั้งพระสงฆ์ที่นิมนต์มาทำพิธีสวดเบิกในวันสุดท้ายด้วย เมื่อคณะศรัทธาหัววัดต่างๆ มาถวายเครื่องไทยทาน พระสงฆ์ที่คอยต้อนรับจะให้ศีลให้พรตามธรรมเนียม พระที่จะให้ศีลนั้นควรเป็นพระที่อาวุโสที่สุดหรือพระที่ชาวบ้านเคารพเลื่อมใสวันสุดท้ายของงานจะมีความสนุกสนานเป็นพิเศษ บางแห่งคณะศรัทธาของแต่ละบ้านนำครัวทานของตนที่จัดขึ้นหรือรวมกลุ่มกัน จัดเครื่องครัวทานแล้วนำไปถวายวัด คณะสงฆ์จะมีพิธีเจริญพระพุทธมนต์และมีการสวด อบรมสมโภช หรือสวดเบิก ซึ่งเป็นการสวดที่ไพเราะน่าฟังมาก ยังมีการเทศน์บอกกล่าวถึงอานิสงส์ของการก่อสร้างอีกด้วย ในวันรุ่งขึ้นก็มีการทำบุญตักบาตรถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุ สามเณร มีอาจารย์วัดกล่าวถวายสิ่งปลูกสร้างที่ชาวบ้านได้ร่วมกันสร้างมา เสร็จแล้วก็ถวายเครื่องไทยธรรมแด่พระสงฆ์ที่มาร่วมพิธี พระสงฆ์ให้ศีลให้พรแด่คณะศรัทธาที่มาร่วมงานก็เป็นอันเสร็จพิธีทำบุญปอยหลวง
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: