โรงสี 8 ( โรงสีเตาเส็ง)ที่ตั้ง ริมแม่น้ำปากพนังฝั่งซ้ายใกล้ทางเข้าประต การแปล - โรงสี 8 ( โรงสีเตาเส็ง)ที่ตั้ง ริมแม่น้ำปากพนังฝั่งซ้ายใกล้ทางเข้าประต อังกฤษ วิธีการพูด

โรงสี 8 ( โรงสีเตาเส็ง)ที่ตั้ง ริมแ

โรงสี 8 ( โรงสีเตาเส็ง)
ที่ตั้ง ริมแม่น้ำปากพนังฝั่งซ้ายใกล้ทางเข้าประตูระบายน้ำอุทกวิภาชน์ประสิทธิ์ ด้านตะวันออก ริมถนนปากพนัง-ปากแพรกเช่นกัน ห่างจากโรงสี 7 ประมาณ 1 กิโลเมตร
ผู้ก่อตั้งยุคแรก คือ จีนโคว้ ฮักหงี เป็นโรงสีแห่งแรกในภาคใต้สมัย รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 5 ได้เสด็จมาทรงเป็นประธานในพิธีเปิดกิจการโรงสี เมื่อ พ.ศ. 2447 เนื่องจากจีนโคว้ฮักหงี ได้กู้เงินจากพระคลังข้างที่ ( ปัจจุบันคือ สำนักทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์) ทำสัญญากัน 25 ปี จดทะเบียนชื่อว่า “ โรงสีเตาเส็ง” มีน้องและหลานมาช่วยงานหลายคนเช่น โคว้ เป็งจือ ต่อมาได้บรรดาศักดิ์ เป็น ขุนนครกิจจีนนิเทศ (ต้นสกุลโรจนกิจ) อีกคนหนึ่งคือ โคว้เซี่ยงงี้(ต้นสกุลศิริธรรมวัฒน์) เป็นบุตรชายคนโตของโคว้ฮักหงี คนที่สามชื่อ โคว้ เสี่ยง ห่าว (ต้นสกุล สุชาโต) เป็นน้องชายของ โคว้เซี่ยงงี่ คนที่ 4 ชื่อ โคว้ เซี่ยงหยู ( ต้นสกุล โฆษิตสกุล) เป็นน้องโคว้เสี่ยงห่าว
ยุคที่ 2 พ.ศ. 2471 ผู้ดำเนินกิจการขายให้ชาวจีนสิงคโปร์ชื่อ โฮฮอง และดำเนินกิจการโดยเจ้าหน้าที่ คนงานเดิมแต่จ้างหลงจู้ใหม่มาบริหาร ทำให้ขาดทุนและล้มละลาย มีนายลิ้มซุ่นหวาน ดูแลกิจการ จนถูกธนาคารสยามกัมมาจล เข้ายึดทรัพย์ใน พ.ศ. 2475เพราะไม่มีเงินชำระหนี้
ยุคที่ 3 พ.ศ. 2478 นางกอบกาญจน์ ชัยสวัสดิ์ ชาวเมืองกาญจนดิษฐ์ ได้มาหาซื้อหม้อน้ำเครื่องจักรไอน้ำ และสนใจโรงสี จึงเจรจาขอซื้อจากธนาคารสยามกัมมาจล ธนาคารให้ในราคาถูกเพียง 5,000 บาท(ชาวปากพนังไม่มีใครทราบเรื่องนี้ ) ซึ่งถือว่าราคาถูกมาก นางกอบกาญจน์ ได้ฟื้นกิจการโรงสีขึ้นมาอีกครั้งโดยจดทะเบียนตั้งชื่อใหม่ว่า “ โรงสีกอบกาญจน์” คนปากพนังเรียกว่าโรงสีแม่ครู เนื่องจากนางกอบกาญจน์ รับราชการเป็นครูด้วย และเป็นที่รักของคนละแวกนั้น ในระยะนี้มีนายกิ้มซุ่น เป็นหลงจู๊ การบริหารเป็นไปด้วยดี มีกำไร ประกอบกับเครื่องจักรมีกำลังสูงจึงเปิดกิจการโรงน้ำแข็งควบคู่กันไปด้วย ( ปัจจุบันยังมีร่องรอยห้องที่ผลิตน้ำแข็งให้เห็น) ต่อมาได้ดำเนินกิจการเรือยนต์โดยสาร ชื่อ เรือท่าทอง ด้วย มีเรือท่าทอง 2 และท่าทอง3 ( เรือท่าทอง 1 อยู่ที่กาญจนดิษฐ์ บ้านเดิมของนางกอบกาญจน์)
ครั้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โรงสีทุกโรงต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของบริษัทข้าวไทย ปักษ์ใต้ ซึ่งรัฐบาลเป็นหุ้นส่วน ข้าวสารที่สีได้ในลุ่มน้ำปากพนังทั้งหมดต้องขายให้บริษัทข้าวไทยปักษ์ใต้แห่งเดียว พ.ศ. 2489 บริษัทข้าวไทยหยุดกิจการ โรงสีกอบกาญจน์ จึงหยุดไปด้วย
ยุคที่ 4 พ.ศ. 2491 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหกรณ์จังหวัดสุราษฏร์ธานีมาเช่าดำเนินกิจการต่อ ในชื่อเดิม ในระยะนี้โรงสี 8 รุ่งเรืองมากเพราะมีทุนรับซื้อไม่จำกัด แม้ประกาศห้ามซื้อขายข้ามเขตสมัยสงครามโลกยังมีอยู่ แต่สหกรณ์ที่ดำเนินการอยู่ในรูปกึ่งรัฐกึ่งเอกชน จึงได้รับสิทธิพิเศษ ขายข้าวข้ามเขตได้ ในขณะที่โรงสีอื่นทำไม่ได้
ยุคที่ 5 พ.ศ. 2495 รัฐบาลผ่อนปรนให้ขายข้าวข้ามเขตได้ มีการแข่งขันกันอีกครั้งโรงสีหลายโรงกลับมาดำเนินกิจการอีก ประกอบกับมีโรงสีข้าวเครื่องยนต์ขนาดเล็กเกิดขึ้นในหมู่บ้านมากมาย ข้าวที่มาขายโรงสีไฟจึงน้อยลง โรงสีขนาดเล็กเคยเป็นพ่อค้าคนกลางที่นำข้าวมาขายโรงสีไฟ ก็รับซื้อเสียเอง หรือบริการสีให้ฟรี ๆ เอาแต่แกลบและรำ ทำให้โรงสีไฟแข่งขันไม่ได้ เพราะโรงสีไฟต้องลงทุนสูง และต้องมีวัตถุดิบป้อนตลอดเวลาจึงจะคุ้มทุน ในขณะที่โรงสีเครื่องยนต์ หยุดสีก็ได้ไม่ต้องลงทุนมาก โรงสีไฟจึงหยุดกิจการไปโดยปริยาย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
8 mill (mill furnace Seng)Location Left side of Pak phanang River near the entrance to floodgate uthok video phat Prasit. The East side. Along the road, Pak phanang-Pak phraek. Distance of approximately 1 km, 7 mill.ผู้ก่อตั้งยุคแรก คือ จีนโคว้ ฮักหงี เป็นโรงสีแห่งแรกในภาคใต้สมัย รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 5 ได้เสด็จมาทรงเป็นประธานในพิธีเปิดกิจการโรงสี เมื่อ พ.ศ. 2447 เนื่องจากจีนโคว้ฮักหงี ได้กู้เงินจากพระคลังข้างที่ ( ปัจจุบันคือ สำนักทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์) ทำสัญญากัน 25 ปี จดทะเบียนชื่อว่า “ โรงสีเตาเส็ง” มีน้องและหลานมาช่วยงานหลายคนเช่น โคว้ เป็งจือ ต่อมาได้บรรดาศักดิ์ เป็น ขุนนครกิจจีนนิเทศ (ต้นสกุลโรจนกิจ) อีกคนหนึ่งคือ โคว้เซี่ยงงี้(ต้นสกุลศิริธรรมวัฒน์) เป็นบุตรชายคนโตของโคว้ฮักหงี คนที่สามชื่อ โคว้ เสี่ยง ห่าว (ต้นสกุล สุชาโต) เป็นน้องชายของ โคว้เซี่ยงงี่ คนที่ 4 ชื่อ โคว้ เซี่ยงหยู ( ต้นสกุล โฆษิตสกุล) เป็นน้องโคว้เสี่ยงห่าวยุคที่ 2 พ.ศ. 2471 ผู้ดำเนินกิจการขายให้ชาวจีนสิงคโปร์ชื่อ โฮฮอง และดำเนินกิจการโดยเจ้าหน้าที่ คนงานเดิมแต่จ้างหลงจู้ใหม่มาบริหาร ทำให้ขาดทุนและล้มละลาย มีนายลิ้มซุ่นหวาน ดูแลกิจการ จนถูกธนาคารสยามกัมมาจล เข้ายึดทรัพย์ใน พ.ศ. 2475เพราะไม่มีเงินชำระหนี้ยุคที่ 3 พ.ศ. 2478 นางกอบกาญจน์ ชัยสวัสดิ์ ชาวเมืองกาญจนดิษฐ์ ได้มาหาซื้อหม้อน้ำเครื่องจักรไอน้ำ และสนใจโรงสี จึงเจรจาขอซื้อจากธนาคารสยามกัมมาจล ธนาคารให้ในราคาถูกเพียง 5,000 บาท(ชาวปากพนังไม่มีใครทราบเรื่องนี้ ) ซึ่งถือว่าราคาถูกมาก นางกอบกาญจน์ ได้ฟื้นกิจการโรงสีขึ้นมาอีกครั้งโดยจดทะเบียนตั้งชื่อใหม่ว่า “ โรงสีกอบกาญจน์” คนปากพนังเรียกว่าโรงสีแม่ครู เนื่องจากนางกอบกาญจน์ รับราชการเป็นครูด้วย และเป็นที่รักของคนละแวกนั้น ในระยะนี้มีนายกิ้มซุ่น เป็นหลงจู๊ การบริหารเป็นไปด้วยดี มีกำไร ประกอบกับเครื่องจักรมีกำลังสูงจึงเปิดกิจการโรงน้ำแข็งควบคู่กันไปด้วย ( ปัจจุบันยังมีร่องรอยห้องที่ผลิตน้ำแข็งให้เห็น) ต่อมาได้ดำเนินกิจการเรือยนต์โดยสาร ชื่อ เรือท่าทอง ด้วย มีเรือท่าทอง 2 และท่าทอง3 ( เรือท่าทอง 1 อยู่ที่กาญจนดิษฐ์ บ้านเดิมของนางกอบกาญจน์)ครั้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โรงสีทุกโรงต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของบริษัทข้าวไทย ปักษ์ใต้ ซึ่งรัฐบาลเป็นหุ้นส่วน ข้าวสารที่สีได้ในลุ่มน้ำปากพนังทั้งหมดต้องขายให้บริษัทข้าวไทยปักษ์ใต้แห่งเดียว พ.ศ. 2489 บริษัทข้าวไทยหยุดกิจการ โรงสีกอบกาญจน์ จึงหยุดไปด้วย
ยุคที่ 4 พ.ศ. 2491 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหกรณ์จังหวัดสุราษฏร์ธานีมาเช่าดำเนินกิจการต่อ ในชื่อเดิม ในระยะนี้โรงสี 8 รุ่งเรืองมากเพราะมีทุนรับซื้อไม่จำกัด แม้ประกาศห้ามซื้อขายข้ามเขตสมัยสงครามโลกยังมีอยู่ แต่สหกรณ์ที่ดำเนินการอยู่ในรูปกึ่งรัฐกึ่งเอกชน จึงได้รับสิทธิพิเศษ ขายข้าวข้ามเขตได้ ในขณะที่โรงสีอื่นทำไม่ได้
ยุคที่ 5 พ.ศ. 2495 รัฐบาลผ่อนปรนให้ขายข้าวข้ามเขตได้ มีการแข่งขันกันอีกครั้งโรงสีหลายโรงกลับมาดำเนินกิจการอีก ประกอบกับมีโรงสีข้าวเครื่องยนต์ขนาดเล็กเกิดขึ้นในหมู่บ้านมากมาย ข้าวที่มาขายโรงสีไฟจึงน้อยลง โรงสีขนาดเล็กเคยเป็นพ่อค้าคนกลางที่นำข้าวมาขายโรงสีไฟ ก็รับซื้อเสียเอง หรือบริการสีให้ฟรี ๆ เอาแต่แกลบและรำ ทำให้โรงสีไฟแข่งขันไม่ได้ เพราะโรงสีไฟต้องลงทุนสูง และต้องมีวัตถุดิบป้อนตลอดเวลาจึงจะคุ้มทุน ในขณะที่โรงสีเครื่องยนต์ หยุดสีก็ได้ไม่ต้องลงทุนมาก โรงสีไฟจึงหยุดกิจการไปโดยปริยาย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
8 mill (mill furnace Seng)
location. Pak Phanang river left bank near the entrance วิภาช floodgate flood Inn Prasit East roadside Pak Phanang - Pak phraek. Away from the mill 7 about 1 km
.The first is China โคว้ ฮักหงี. Is the first mill in southern 5 reign reign period and 5 came upon an opening ceremony of the enterprise mill. In 1990.2447 because the Chinese โคว้ ฮักหงี. Get loan from the Privy (at present is the crown estate) the contract 25 years registered titled "the mill furnace Seng." Have a brother and nephew to help many people such as โคว้ Peng ZhiA fattening City Business China supervision (family tree), another is economic society โคว้ Xia this (family tree. Siri Dharma). As the eldest son of the โคว้ ฮักหงี, third name โคว้ risk Hao (early genus.) is the younger brother of sucha big โคว้ Xia confused, who 4 name.Xiang Yu (the genus Kosit genera) is a younger โคว้ risk Hao
.The 2 BC
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: