แนวปรัชญาของซาร์ตร์ปรัชญาของซาร์ตร์เป็นอัตถิภาวะนิยมระบบเทวะ (Atheisti การแปล - แนวปรัชญาของซาร์ตร์ปรัชญาของซาร์ตร์เป็นอัตถิภาวะนิยมระบบเทวะ (Atheisti อังกฤษ วิธีการพูด

แนวปรัชญาของซาร์ตร์ปรัชญาของซาร์ตร์

แนวปรัชญาของซาร์ตร์

ปรัชญาของซาร์ตร์เป็นอัตถิภาวะนิยมระบบเทวะ (Atheistic Existentialism) หรือที่ถูกกว่านั้นควรเรียกว่า อัตถิภาวะนิยมแบบศาสนาเพราะซาร์ตร์ไม่เห็นชอบกับศาสนาใดทั้งสิ้น โดยถือว่าศาสนาทุกศาสนาเป็นมูลบทที่เหลือเฟือ ไม่จำเป็นต้องอาศัยศาสนาใดเลย เราก็สามารถแก้ปัญหาในชีวิตของเราได้ ที่ร้ายกว่านั้นการนับถือศาสนาจะเป็นการเปิดโอกาสให้คนฉลาดเอาเปรียบคนโง่ โดยเสนออุดมคติให้หลงไหล จนทำให้ผู้นับถือใช้เป็นข้อแก้ตัว เพื่อหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบที่จะเผชิญหน้ากับปัญหาด้วยตัวเอง ซาร์ตร์ยังไม่เห็นด้วยกับอุดมคติความคิดหลักการหรือลัทธิที่มีความคิดตายตัวเป็นมาตรฐานเพราะสิ่งเหล่านี้ทำให้มนุษย์ไม่มีเสรีภาพที่ตนพึงมี เขาได้บอกว่าแม้ในขณะนั้นที่ใครๆ ต่างก็สงสัยว่าอะไรจริง, อะไรเท็จ เนื่องจากวิกฤติการณ์ทางปรัชญา หลังจากทฤษฏีเรื่องโครงสร้างของมนัสของค้านต์เป็นต้นมา แต่เราก็สามารถแน่ใจได้อย่างแน่นอนที่สุดในเรื่องหนึ่งคือว่า มนุษย์กับเสรีภาพเป็นของคู่กัน และจะไม่มีใครสามารถแยกมนุษย์ออกจากเสรีภาพได้เลย ตราบเท่าที่มนุษย์ยังเป็นมนุษย์อยู่ คือยังไม่ตายนั้นเอง แม้แต่ผู้ที่ยอมเสียเสรีภาพเองเขาก็ไม่ได้สูญเสียเสรีภาพเลย เพราะการที่เขายอมเสียเสรีภาพนั้นแสดงว่าเขาสามารถเลือกได้ระหว่างการยอม, และไม่ยอม และเขาก็ได้เลือกเอาการยอมเสียเสรีภาพ และนั่นคือเขาก็มีเสรีภาพในการเลือกด้วยเช่นกัน ด้วยเหตุนี้ซาร์ตร์จึงเน้นว่า ตราบใดที่มนุษย์ยังเป็นมนุษย์อยู่ มนุษย์จะไม่มีวันสูญเสียเสรีภาพอย่างหมดสิ้นจริงๆ เลยเพราะการเป็นมนุษย์นั้น จำเป็นต้องมีเสรีภาพ นั่นคือเสรีภาพเป็นแก่นแท้ของมนุษย์หรือเสรีภาพก็คือสารัตถะของมนุษย์นั่นเอง แนวปรัชญาของซาร์ตร์ที่เด่นๆ และมุ่งแสดงอย่างแจ่มชัดก็คือเรื่องอัตถิภาวะของมนุษย์ หรือความมีอยู่, ความเป็นมนุษย์นั่นเอง ซึ่งสาระของความเป็นมนุษย์ ซาร์ตร์ก็ได้ให้คำตอบว่ามันคือ “เสรีภาพ” นั่นเอง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
แนวปรัชญาของซาร์ตร์ปรัชญาของซาร์ตร์เป็นอัตถิภาวะนิยมระบบเทวะ (Atheistic Existentialism) หรือที่ถูกกว่านั้นควรเรียกว่า อัตถิภาวะนิยมแบบศาสนาเพราะซาร์ตร์ไม่เห็นชอบกับศาสนาใดทั้งสิ้น โดยถือว่าศาสนาทุกศาสนาเป็นมูลบทที่เหลือเฟือ ไม่จำเป็นต้องอาศัยศาสนาใดเลย เราก็สามารถแก้ปัญหาในชีวิตของเราได้ ที่ร้ายกว่านั้นการนับถือศาสนาจะเป็นการเปิดโอกาสให้คนฉลาดเอาเปรียบคนโง่ โดยเสนออุดมคติให้หลงไหล จนทำให้ผู้นับถือใช้เป็นข้อแก้ตัว เพื่อหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบที่จะเผชิญหน้ากับปัญหาด้วยตัวเอง ซาร์ตร์ยังไม่เห็นด้วยกับอุดมคติความคิดหลักการหรือลัทธิที่มีความคิดตายตัวเป็นมาตรฐานเพราะสิ่งเหล่านี้ทำให้มนุษย์ไม่มีเสรีภาพที่ตนพึงมี เขาได้บอกว่าแม้ในขณะนั้นที่ใครๆ ต่างก็สงสัยว่าอะไรจริง, อะไรเท็จ เนื่องจากวิกฤติการณ์ทางปรัชญา หลังจากทฤษฏีเรื่องโครงสร้างของมนัสของค้านต์เป็นต้นมา แต่เราก็สามารถแน่ใจได้อย่างแน่นอนที่สุดในเรื่องหนึ่งคือว่า มนุษย์กับเสรีภาพเป็นของคู่กัน และจะไม่มีใครสามารถแยกมนุษย์ออกจากเสรีภาพได้เลย ตราบเท่าที่มนุษย์ยังเป็นมนุษย์อยู่ คือยังไม่ตายนั้นเอง แม้แต่ผู้ที่ยอมเสียเสรีภาพเองเขาก็ไม่ได้สูญเสียเสรีภาพเลย เพราะการที่เขายอมเสียเสรีภาพนั้นแสดงว่าเขาสามารถเลือกได้ระหว่างการยอม, และไม่ยอม และเขาก็ได้เลือกเอาการยอมเสียเสรีภาพ และนั่นคือเขาก็มีเสรีภาพในการเลือกด้วยเช่นกัน ด้วยเหตุนี้ซาร์ตร์จึงเน้นว่า ตราบใดที่มนุษย์ยังเป็นมนุษย์อยู่ มนุษย์จะไม่มีวันสูญเสียเสรีภาพอย่างหมดสิ้นจริงๆ เลยเพราะการเป็นมนุษย์นั้น จำเป็นต้องมีเสรีภาพ นั่นคือเสรีภาพเป็นแก่นแท้ของมนุษย์หรือเสรีภาพก็คือสารัตถะของมนุษย์นั่นเอง แนวปรัชญาของซาร์ตร์ที่เด่นๆ และมุ่งแสดงอย่างแจ่มชัดก็คือเรื่องอัตถิภาวะของมนุษย์ หรือความมีอยู่, ความเป็นมนุษย์นั่นเอง ซึ่งสาระของความเป็นมนุษย์ ซาร์ตร์ก็ได้ให้คำตอบว่ามันคือ “เสรีภาพ” นั่นเอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
แนวปรัชญาของซาร์ตร์

ปรัชญาของซาร์ตร์เป็นอัตถิภาวะนิยมระบบเทวะ (Atheistic Existentialism) หรือที่ถูกกว่านั้นควรเรียกว่า อัตถิภาวะนิยมแบบศาสนาเพราะซาร์ตร์ไม่เห็นชอบกับศาสนาใดทั้งสิ้น โดยถือว่าศาสนาทุกศาสนาเป็นมูลบทที่เหลือเฟือ ไม่จำเป็นต้องอาศัยศาสนาใดเลย เราก็สามารถแก้ปัญหาในชีวิตของเราได้ ที่ร้ายกว่านั้นการนับถือศาสนาจะเป็นการเปิดโอกาสให้คนฉลาดเอาเปรียบคนโง่ โดยเสนออุดมคติให้หลงไหล จนทำให้ผู้นับถือใช้เป็นข้อแก้ตัว เพื่อหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบที่จะเผชิญหน้ากับปัญหาด้วยตัวเอง ซาร์ตร์ยังไม่เห็นด้วยกับอุดมคติความคิดหลักการหรือลัทธิที่มีความคิดตายตัวเป็นมาตรฐานเพราะสิ่งเหล่านี้ทำให้มนุษย์ไม่มีเสรีภาพที่ตนพึงมี เขาได้บอกว่าแม้ในขณะนั้นที่ใครๆ ต่างก็สงสัยว่าอะไรจริง, อะไรเท็จ เนื่องจากวิกฤติการณ์ทางปรัชญา หลังจากทฤษฏีเรื่องโครงสร้างของมนัสของค้านต์เป็นต้นมา แต่เราก็สามารถแน่ใจได้อย่างแน่นอนที่สุดในเรื่องหนึ่งคือว่า มนุษย์กับเสรีภาพเป็นของคู่กัน และจะไม่มีใครสามารถแยกมนุษย์ออกจากเสรีภาพได้เลย ตราบเท่าที่มนุษย์ยังเป็นมนุษย์อยู่ คือยังไม่ตายนั้นเอง แม้แต่ผู้ที่ยอมเสียเสรีภาพเองเขาก็ไม่ได้สูญเสียเสรีภาพเลย เพราะการที่เขายอมเสียเสรีภาพนั้นแสดงว่าเขาสามารถเลือกได้ระหว่างการยอม, และไม่ยอม และเขาก็ได้เลือกเอาการยอมเสียเสรีภาพ และนั่นคือเขาก็มีเสรีภาพในการเลือกด้วยเช่นกัน ด้วยเหตุนี้ซาร์ตร์จึงเน้นว่า ตราบใดที่มนุษย์ยังเป็นมนุษย์อยู่ มนุษย์จะไม่มีวันสูญเสียเสรีภาพอย่างหมดสิ้นจริงๆ เลยเพราะการเป็นมนุษย์นั้น จำเป็นต้องมีเสรีภาพ นั่นคือเสรีภาพเป็นแก่นแท้ของมนุษย์หรือเสรีภาพก็คือสารัตถะของมนุษย์นั่นเอง แนวปรัชญาของซาร์ตร์ที่เด่นๆ และมุ่งแสดงอย่างแจ่มชัดก็คือเรื่องอัตถิภาวะของมนุษย์ หรือความมีอยู่, ความเป็นมนุษย์นั่นเอง ซึ่งสาระของความเป็นมนุษย์ ซาร์ตร์ก็ได้ให้คำตอบว่ามันคือ “เสรีภาพ” นั่นเอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The philosophy of Sartre

.The philosophy of Sartre's existential condition system's popular (Atheistic Existentialism) or cheaper should be called Existential condition a popular religion because Sartre didn't like with any religion at all. By treating all religions is the basis of excess.We can solve the problem in our life. Worse, religion will open up opportunities for smart people to take advantage of a fool by offering the ideal to the passion that Anglicans, used as an excuse.Sartre also disagree with the ideal principle or doctrine with fixed idea idea is the standard because these men have no freedom at their best. He said that even at that time people are wondering what's real.What is false, since the crisis on philosophy. After the theory of the structure of manus of object components. But we can be sure of course, one thing is that Human freedom as a couple.As long as man is still human, is not it. Even those who lose the freedom he doesn't lose the freedom. Because of that, he lost the freedom that he can choose between giving.And don't, and he chose giving lose freedom. And that he has the freedom to choose as well. Hence his is emphasized. As long as man is still human.Because a man that there is a need to freedom. That is, freedom is the essence of man or freedom is the essence of the human. The dominant philosophy of Sartre. And aimed at showing clearly is the existence state of human.Humanity itself, which the essence of humanity. Sartre gave answers that it is "freedom".
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: