ประวัติความเป็นมาของโทรศัพท์โทรศัพท์ประดิษฐ์เป็นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอ การแปล - ประวัติความเป็นมาของโทรศัพท์โทรศัพท์ประดิษฐ์เป็นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอ อังกฤษ วิธีการพูด

ประวัติความเป็นมาของโทรศัพท์โทรศัพท

ประวัติความเป็นมาของโทรศัพท์

โทรศัพท์ประดิษฐ์เป็นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยอเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ (Alexander Graham Bell) เมื่อ พ.ศ.๒๔๑๙ (ค.ศ.1876) [๑] และต่อมาเครื่องชุมสายโทรศัพท์ได้ถูกเปิดให้บริการผู้เช่าเป็นครั้งแรกในเมืองนิวฮาเวน(New Haven)มลรัฐคอนเนตทิคัต (Conecticut) เป็นระบบที่ใช้พนักงานต่อสายสัญญาณ (Manual) ต่อมาเครื่องชุมสายโทรศัพท์ได้ถูกพัฒนา จากระบบที่ใช้พนักงานต่อเป็นระบบอัตโนมัติ (Automatic Telephone Exchange) เครื่องชุมสายโทรศัพท์ระบบอัตโนมัติเครื่องแรก เป็นระบบการสลับทีละขั้น หรือระบบสเต็ปบายสเต็ป (Step-By-Step) ออกแบบโดยอัลมอน บี สโตรว์เกอร์ (Almon B.Strowger) ในปี พ.ศ ๒๔๓๕ (ค.ศ. 1892) และเปิดใช้ในเมืองลาปอเต้ (La Porte) มลรัฐอินเดียน่า (Indiana) ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นครั้งแรก เครื่องชุมสายระบบอัตโนมัติได้ถูกพัฒนาขึ้นจากระบบ Step-By-Step และระบบครอสบาร์สวิทช์ (Crossbar switch) ซึ่งเป็นเครื่องชุมสายแบบระบบเครื่องจักรกลอิเล็กทรอนิกส์ (Electromechnical System) มาเป็นเครื่องชุมสายระบบอิเลคทรอนิกส์ (Electronic Switching System) ในช่วงแรกของการพัฒนาเครื่องชุมสายนั้น ส่วนที่เป็นตัวควบคุมได้ถูกออกแบบให้เป็นตัวกลางในการควบคุมการทำงานของวงจร เครื่องชุมสายระบบครอสบาร์สวิทช์ (Crossbar switch) ระบบเริ่มแรก ต่อมาได้นำระบบการควบคุมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic control) มาใช้ซึ่งระบบการควบคุมประกอบด้วยสามส่วนได้แก่ Hardware logic Programmable wired logic และ Stored program

control ( SPC) ระบบเอชพีซี (SPC) เป็นที่นิยมนำมาใช้เนื่องจากมีข้อดีในการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ในการออกแบบระบบการควบคุมดูแลและการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของชุมสาย นอกจากนี้ระบบ SPC ยังทำให้สามารถมีบริการต่างๆ (Facilities) แก่ผู้เช่าได้มาก เครื่องชุมสายระบบ SPC แบบแอนะล็อก (Analog) ได้ถูกนำมาเปิดใช้งานบริการแก่ผู้เช่าเป็นครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๘ (ค.ศ.1965) การพัฒนาเครื่องชุมสายระบบนี้ ได้ถึงจุดอิ่มตัว ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๓ (ค.ศ. 1970) โดยนำอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ (Semiconductors) มาใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องชุมสายโทรศัพท์ โดยนำวิธีการจัดการสัญญาณแบบดิจิทัล เช่น การแปลงสัญญาณเสียงให้เป็นข้อมูลดิจิทัล(Pluse coded Modulation: PCM) และการจัดสรรช่องสัญญาณแบบแบ่งตามเวลา (Time Division Multiplexing: TDM) มาใช้ในเครื่องชุมสาย SPC ทำให้มีประสิทธิภาพการทำงานดีกว่า SPC แบบเดิมมากเพราะทำให้เป็นเครื่องชุมสายแบบที่มีส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด(Fully Electronics) เรียกว่าเป็นชุมสาย SPC แบบดิจิทัล

สำหรับในประเทศไทยได้นำโทรศัพท์มาใช้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๒๔ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ติดตั้งที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการเครื่องโทรศัพท์ที่ใช้ในระยะแรกคือ เครื่องโทรศัพท์ระบบแม็กนีโตหรือระบบไฟประจำเครื่อง ปี พ.ศ. ๒๔๕๐ ชุมสายโทรศัพท์แห่งแรกในประเทศไทย ติดตั้งระบบ ณ สำนักงานโทรศัพท์กลาง (วัดเลียบ) เป็นโทรศัพท์ไฟกลางใช้พนักงานต่อ (Central Battery: CB) เป็นชุมสายกึ่งอัตโนมัติ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๗๘ เริ่มใช้ชุมสายระบบ Step by Step และปี พ.ศ. ๒๔๙๗ มีการสถาปนาองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยเพื่อให้บริการโทรศัพท์ ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ เริ่มใช้ชุมสายโทรศัพท์ครอสบาร์ ติดตั้งครั้งแรกในประเทศไทยที่ชุมสายชลบุรี ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ เริ่มใช้เครื่องโทรศัพท์แบบกดปุ่ม มาเปิดใช้ครั้งแรกในเขตนครหลวง ปี พ.ศ. ๒๕๒๖ เปิดใช้ชุมสายโทรศัพท์ระบบ SPC มาใช้ครั้งแรกที่ชุมสายภูเก็ต ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ปรับเปลี่ยนโทรศัพท์ระบบครอสบาร์ (แบบหมุน) เป็นระบบเอสพีซี (แบบกดปุ่ม) ทั้งหมด ต่อมาเมื่อวันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยแปลงสภาพเป็น
บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด มหาชน (TOT Corporation Public Company Limited) และวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เปลี่ยนชื่อเป็น
บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (TOT Public Company Limited) วันที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่หนึ่ง และแบบที่สามจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กทช.
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The history of the telephone.Telephone invention was first introduced in the United States. By Alexander Graham Bell (Alexander Graham Bell) when 2419 (1876) (r. 1876) [1], and subsequently a community phone line was open to tenants for the first time in the new city (New Haven) Wien waha state icon Internet entity khat (Conecticut) is a system that uses an employee per line (Manual) later, a conference phone line has been developed. The system uses an automated system: (Automatic Telephone Exchange), initial telephone meeting system is a system of step-by-step switch or step by step (Step-By-Step) designed by al Monte b satrokoe (B.Strowger Almon) in the year 2435 Fri Wed (r. 1892) and launch in the town of la Po Te (La Porte) State?United States (Indiana) and nadia Rio de Janeiro, Brazil for the first time. A CHUM line automation system has been developed from the Step-By-Step system and cross system switches, saba (Crossbar switch) which is a CHUM line of mechanical systems, electronic (Electromechnical System) is a system of cables meeting electronics (Electronic Switching System) in the first period of development of a CHUM line. Best controller has been designed to be an intermediary in order to control the operation of the circuit. A cross-system cables, antennas, saba community (Crossbar switch), the initial system, the electronic control system (Electronic control) is used, which consists of three parts: control system: Programmable logic Hardware wired logic and Stored program.Control (SPC) system, HP c (SPC) is used because there are advantages in using computer technology in design of system of supervision and changes of the CHUM line. In addition, SPC system also makes it possible to have various services (Facilities) as well as many tenants. A CHUM line SPC systems, analog (Analog) has been adopted as part of tenant services enabled for the first time. When 2508 (1965) (r. 1965) Development of meetings, calls this system has reached saturation point since 2513 (1970) (1970) by leading semiconductor devices (Semiconductors) is used as a component in a conference phone call with how to handle the digital signal, for example, to convert the audio signal to a digital information (Pluse coded Modulation: PCM) and allocate a channel split by time (Time Division Multiplexing: TDM) used in a late meeting, SPC provides better performance than conventional SPC is a very wired community with all of the electronic components (Fully Electronics) Called a CHUM line of SPC digital. For the domestic Thai telephone was used for the first time in the reign of 2424 (1881) 5 installed in Bangkok and Samut prakan province marks the first stage in the phone is a telephone system older power Mac system, whilst the local meeting or phone call 2450 (1907), the first of its kind in the country, Thai. Installation of the system at the central telephone Office (measured concentration) is a medium-light phone use per employee (Central Battery: CB) is a semi-automatic line meeting the airline community Step System starting 2478 (1935) by Step, and the Agency has been established 2497 (1954) phone calling service to Thai national 2009.2502 cross phone line community began using saba Installing for the first time in the country, the Thai community calls the handset starts 2520 (1977), Chonburi, press the button to turn on for the first time in the Metropolitan Zone 2526 (1983) SPC system telephone wires meeting turned to first use the CHUM line system phone modification 2540 (1997) Phuket cross saba (the rotation) is a s-PC (the press) all. Subsequent to July 31 telephone organisation of Thailand Thai 2545 (2002) transform is.The company's Hotel Corporation plc (TOT Corporation Public Company Limited), and July 1 is renamed 2548 (2005)Tot public company limited (TOT Public Company Limited) August 4 2548 (2005) is licensed to make the telecommunications and the third from the National Telecommunications Commission, or the National Telecommunications Commission.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของโทรศัพท์

โทรศัพท์ประดิษฐ์เป็นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยอเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ (Alexander Graham Bell) เมื่อ พ.ศ.๒๔๑๙ (ค.ศ.1876) [๑] และต่อมาเครื่องชุมสายโทรศัพท์ได้ถูกเปิดให้บริการผู้เช่าเป็นครั้งแรกในเมืองนิวฮาเวน(New Haven)มลรัฐคอนเนตทิคัต (Conecticut) เป็นระบบที่ใช้พนักงานต่อสายสัญญาณ (Manual) ต่อมาเครื่องชุมสายโทรศัพท์ได้ถูกพัฒนา จากระบบที่ใช้พนักงานต่อเป็นระบบอัตโนมัติ (Automatic Telephone Exchange) เครื่องชุมสายโทรศัพท์ระบบอัตโนมัติเครื่องแรก เป็นระบบการสลับทีละขั้น หรือระบบสเต็ปบายสเต็ป (Step-By-Step) ออกแบบโดยอัลมอน บี สโตรว์เกอร์ (Almon B.Strowger) ในปี พ.ศ ๒๔๓๕ (ค.ศ. 1892) และเปิดใช้ในเมืองลาปอเต้ (La Porte) มลรัฐอินเดียน่า (Indiana) ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นครั้งแรก เครื่องชุมสายระบบอัตโนมัติได้ถูกพัฒนาขึ้นจากระบบ Step-By-Step และระบบครอสบาร์สวิทช์ (Crossbar switch) ซึ่งเป็นเครื่องชุมสายแบบระบบเครื่องจักรกลอิเล็กทรอนิกส์ (Electromechnical System) มาเป็นเครื่องชุมสายระบบอิเลคทรอนิกส์ (Electronic Switching System) ในช่วงแรกของการพัฒนาเครื่องชุมสายนั้น ส่วนที่เป็นตัวควบคุมได้ถูกออกแบบให้เป็นตัวกลางในการควบคุมการทำงานของวงจร เครื่องชุมสายระบบครอสบาร์สวิทช์ (Crossbar switch) ระบบเริ่มแรก ต่อมาได้นำระบบการควบคุมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic control) มาใช้ซึ่งระบบการควบคุมประกอบด้วยสามส่วนได้แก่ Hardware logic Programmable wired logic และ Stored program

control ( SPC) ระบบเอชพีซี (SPC) เป็นที่นิยมนำมาใช้เนื่องจากมีข้อดีในการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ในการออกแบบระบบการควบคุมดูแลและการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของชุมสาย นอกจากนี้ระบบ SPC ยังทำให้สามารถมีบริการต่างๆ (Facilities) แก่ผู้เช่าได้มาก เครื่องชุมสายระบบ SPC แบบแอนะล็อก (Analog) ได้ถูกนำมาเปิดใช้งานบริการแก่ผู้เช่าเป็นครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๘ (ค.ศ.1965) การพัฒนาเครื่องชุมสายระบบนี้ ได้ถึงจุดอิ่มตัว ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๓ (ค.ศ. 1970) โดยนำอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ (Semiconductors) มาใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องชุมสายโทรศัพท์ โดยนำวิธีการจัดการสัญญาณแบบดิจิทัล เช่น การแปลงสัญญาณเสียงให้เป็นข้อมูลดิจิทัล(Pluse coded Modulation: PCM) และการจัดสรรช่องสัญญาณแบบแบ่งตามเวลา (Time Division Multiplexing: TDM) มาใช้ในเครื่องชุมสาย SPC ทำให้มีประสิทธิภาพการทำงานดีกว่า SPC แบบเดิมมากเพราะทำให้เป็นเครื่องชุมสายแบบที่มีส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด(Fully Electronics) เรียกว่าเป็นชุมสาย SPC แบบดิจิทัล

สำหรับในประเทศไทยได้นำโทรศัพท์มาใช้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๒๔ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ติดตั้งที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการเครื่องโทรศัพท์ที่ใช้ในระยะแรกคือ เครื่องโทรศัพท์ระบบแม็กนีโตหรือระบบไฟประจำเครื่อง ปี พ.ศ. ๒๔๕๐ ชุมสายโทรศัพท์แห่งแรกในประเทศไทย ติดตั้งระบบ ณ สำนักงานโทรศัพท์กลาง (วัดเลียบ) เป็นโทรศัพท์ไฟกลางใช้พนักงานต่อ (Central Battery: CB) เป็นชุมสายกึ่งอัตโนมัติ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๗๘ เริ่มใช้ชุมสายระบบ Step by Step และปี พ.ศ. ๒๔๙๗ มีการสถาปนาองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยเพื่อให้บริการโทรศัพท์ ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ เริ่มใช้ชุมสายโทรศัพท์ครอสบาร์ ติดตั้งครั้งแรกในประเทศไทยที่ชุมสายชลบุรี ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ เริ่มใช้เครื่องโทรศัพท์แบบกดปุ่ม มาเปิดใช้ครั้งแรกในเขตนครหลวง ปี พ.ศ. ๒๕๒๖ เปิดใช้ชุมสายโทรศัพท์ระบบ SPC มาใช้ครั้งแรกที่ชุมสายภูเก็ต ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ปรับเปลี่ยนโทรศัพท์ระบบครอสบาร์ (แบบหมุน) เป็นระบบเอสพีซี (แบบกดปุ่ม) ทั้งหมด ต่อมาเมื่อวันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยแปลงสภาพเป็น
บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด มหาชน (TOT Corporation Public Company Limited) และวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เปลี่ยนชื่อเป็น
บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (TOT Public Company Limited) วันที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่หนึ่ง และแบบที่สามจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กทช.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The history of the telephone

telephone artificial for the first time in the United States by a Alexandre der Graham Bell (Alexander. Graham Bell) on the 19th (24.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: