คำว่า

คำว่า"ผีตาโขน" จัดว่าเป็นชื่อการละเ

คำว่า"ผีตาโขน" จัดว่าเป็นชื่อการละเล่นชนิดหนึ่ง โดยผู้เล่นทำรูปหน้ากาก มีลักษณะ น่าเกลียดน่ากลัว มาสวมใส่และแต่งตัวมิดชิด แล้วเข้าขบวนแห่แสดงท่าทางต่าง ๆ
ในระหว่างมีงานบุญตามประเพณีประจำปีของท้องถิ่นพื้นบ้าน การเล่นผีตาโขนนั้นจะมีเฉพาะงานบุญประเพณีที่ภาษาพื้นบ้านอเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ซึ่งเรียกว่า "บุญหลวง"
ที่วัดโพนชัย อำเภอด่านซ้าย ในเดือนแปดข้างขึ้น นิยมทำ 3 วัน ดังกล่าว คือ วันแรกเป็นวันรวม (วันโฮม) เป็นวันที่ประชาชนตามตำบลหมู่บ้านต่าง ๆ เดินทางมาร่วมงาน ซึ่งปกติ
จะนำบั้งไฟมาด้วย โดยเริ่มตั้งแต่เวลาประมาณ 04.00 น. - 05.00 น. ทำพิธีอัญเชิญพระอุปคุตเข้ามาประดิษฐานอยู่ที่วัด โดยอัญเชิญก้อนหิน จากแม่น้ำหมันใส่พาน ซึ่งสมมติว่า
เป็นพระอุปคุตนำมาประดิษฐานไว้ที่หออุปคุต ข้างศาลาโรงธรรม ที่เตรียมจัดไว้แล้ว เชื่อว่าจะสามารป้องกันเหตุเภทภัยต่าง ๆ ที่จะเกิดในงานได้ เมื่อพิธีอัญเชิญพระอุปคุตเสร็จ
เรียบร้อยแล้ว จะมีการละเล่นต่าง ๆ ทั้งกลางวันและกลางคืน เช่น เล่นเซิ้งบั้งไฟ ฟ้อนรำ การแสดงผีตาโขน การแสดงการเล่นต่าง ๆ เป็นต้น วันที่สองของงาน ตั้งแต่ตอนเช้าถึง
บ่าย จะมีการละเล่นต่าง ๆ


ภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ต
ข้อมูลภาพ ณ วันที่17-3-57
ประเพณีผีตาโขน เป็นการละเล่นที่เกี่ยวเนื่องกับพิธีกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อบวงสรวงบูชาติดต่อกับผู้ชมดูการละเล่น คือ วิญญาณผีบรรพชน ที่กลุ่มชนชาติพันธุ์ไท-ลาว
เชื่อถือร่วมกันว่าบรรพชน คือ ต้นตระกูลเผ่าพันธุ์ผู้ที่สร้างบ้านแปงเมือง บรรพชนเมื่อตายเป็นผี จึงเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่น่าเกรงขาม มีอำนาจที่จะดลบันดาลให้ความอุดมสมบูรณ์
หรือความหายนะแก่บ้านเมืองได้ เพื่อเป็นการแสดงความเคารพ เพื่อความอุดมสมบูรณ์พูนสุขของบ้านเมือง เมื่อถึงงานบุญประเพณีสำคัญ ๆ ตามฮีตประเพณี จึงจะต้องทำการ
ละเล่นเต้นฟ้อนผีตาโขนเพื่อเซ่นสรวงบูชาให้เป็นที่ ถูกอกถูกใจแก่ผีบรรพชน การละเล่นผีตาโขนจึงเป็นการละเล่นที่มีมาแต่โบราณ และผ่านการ สืบทอดทางพิธีกรรมเป็นสาย
ยาวจากรุ่นต่อรุ่นมาจนถึงปัจจุบัน ผีตาโขนจึงเป็นการละเล่นส่วนหนึ่งในงานบุญหลวงของอำเภอด่านซ้าย หรือเมืองด่านซ้ายในอดีต นับเป็นการละเล่นที่นำพาให้เกิดความสนุก
สนานและความบันเทิงเป็นหลัก เช่นกันกับการเล่นทอดแห ขายยา และทั่งบั้ง อันเป็นสีสันแห่งการเฉลิมฉลองในงานบุญหลวงและโดยเฉพาะในพิธีอันเชิญพระเวสสันดร และ
นางมัทรีเข้าเมือง ตามฮีตเดือนสี่ (บุญเผวส) ของชาวอีสาน ซึ่งชาวด่านซ้าย ได้รวมเอางานบุญฮีตเดือนสี่(บุญเผวส) ฮีตเดือนห้า (บุญสงกรานต์) ฮีตเดือนหก (บุญบั้งไฟ) และ
ฮีตเดือนเจ็ด (บุญซำฮะ) มาจัดขึ้นพร้อมกันในช่วงเดือนเจ็ดของทุกปี ซึ่งมักจะอยู่ระหว่างปลายเดือนมิถุนายนถึงช่วงต้นเดือนกรกฏาคม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ๆ คำว่า "ผีตาโขน" จัดว่าเป็นชื่อการละเล่นชนิดหนึ่งโดยผู้เล่นทำรูปหน้ากากมีลักษณะน่าเกลียดน่ากลัวมาสวมใส่และแต่งตัวมิดชิดแล้วเข้าขบวนแห่แสดงท่าทางต่างในระหว่างมีงานบุญตามประเพณีประจำปีของท้องถิ่นพื้นบ้านการเล่นผีตาโขนนั้นจะมีเฉพาะงานบุญประเพณีที่ภาษาพื้นบ้านอเภอด่านซ้ายจังหวัดเลยซึ่งเรียกว่า "บุญหลวง"ที่วัดโพนชัยอำเภอด่านซ้ายในเดือนแปดข้างขึ้นนิยมทำ 3 วันดังกล่าวคือวันแรกเป็นวันรวม (วันโฮม) เป็นวันที่ประชาชนตามตำบลหมู่บ้านต่างๆ เดินทางมาร่วมงานซึ่งปกติจะนำบั้งไฟมาด้วยโดยเริ่มตั้งแต่เวลาประมาณ 04.00 น. - 05.00 น.ทำพิธีอัญเชิญพระอุปคุตเข้ามาประดิษฐานอยู่ที่วัดโดยอัญเชิญก้อนหินจากแม่น้ำหมันใส่พานซึ่งสมมติว่าเป็นพระอุปคุตนำมาประดิษฐานไว้ที่หออุปคุตข้างศาลาโรงธรรมที่เตรียมจัดไว้แล้วเชื่อว่าจะสามารป้องกันเหตุเภทภัยต่างๆ ที่จะเกิดในงานได้เมื่อพิธีอัญเชิญพระอุปคุตเสร็จเรียบร้อยแล้วจะมีการละเล่นต่างๆ ทั้งกลางวันและกลางคืนเช่นเล่นเซิ้งบั้งไฟฟ้อนรำการแสดงผีตาโขนการแสดงการเล่นต่างๆ เป็นต้นวันที่สองของงานตั้งแต่ตอนเช้าถึงบ่ายจะมีการละเล่นต่างๆภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ตข้อมูลภาพณ วันที่17-3-57 ประเพณีผีตาโขนเป็นการละเล่นที่เกี่ยวเนื่องกับพิธีกรรมมีวัตถุประสงค์เพื่อบวงสรวงบูชาติดต่อกับผู้ชมดูการละเล่นคือวิญญาณผีบรรพชนที่กลุ่มชนชาติพันธุ์ไท-ลาวเชื่อถือร่วมกันว่าบรรพชนคือต้นตระกูลเผ่าพันธุ์ผู้ที่สร้างบ้านแปงเมืองบรรพชนเมื่อตายเป็นผีจึงเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่น่าเกรงขามมีอำนาจที่จะดลบันดาลให้ความอุดมสมบูรณ์หรือความหายนะแก่บ้านเมืองได้เพื่อเป็นการแสดงความเคารพเพื่อความอุดมสมบูรณ์พูนสุขของบ้านเมืองเมื่อถึงงานบุญประเพณีสำคัญๆ ตามฮีตประเพณีจึงจะต้องทำการละเล่นเต้นฟ้อนผีตาโขนเพื่อเซ่นสรวงบูชาให้เป็นที่ถูกอกถูกใจแก่ผีบรรพชนการละเล่นผีตาโขนจึงเป็นการละเล่นที่มีมาแต่โบราณและผ่านการสืบทอดทางพิธีกรรมเป็นสายยาวจากรุ่นต่อรุ่นมาจนถึงปัจจุบันผีตาโขนจึงเป็นการละเล่นส่วนหนึ่งในงานบุญหลวงของอำเภอด่านซ้ายหรือเมืองด่านซ้ายในอดีตนับเป็นการละเล่นที่นำพาให้เกิดความสนุกสนานและความบันเทิงเป็นหลักเช่นกันกับการเล่นทอดแหขายยาและทั่งบั้งอันเป็นสีสันแห่งการเฉลิมฉลองในงานบุญหลวงและโดยเฉพาะในพิธีอันเชิญพระเวสสันดรและนางมัทรีเข้าเมืองตามฮีตเดือนสี่ (บุญเผวส) ของชาวอีสานซึ่งชาวด่านซ้ายได้รวมเอางานบุญฮีตเดือนสี่(บุญเผวส)ฮีตเดือนห้า (บุญสงกรานต์) ฮีตเดือนหก (บุญบั้งไฟ) และฮีตเดือนเจ็ด (บุญซำฮะ) มาจัดขึ้นพร้อมกันในช่วงเดือนเจ็ดของทุกปีซึ่งมักจะอยู่ระหว่างปลายเดือนมิถุนายนถึงช่วงต้นเดือนกรกฏาคม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
คำว่า "ผีตาโขน" จัดว่าเป็นชื่อการละเล่นชนิดหนึ่งโดย ผู้เล่นทำรูปหน้ากากมีลักษณะน่าเกลียดน่ากลัวมาสวมใส่และแต่งตัวมิดชิดแล้วเข้าขบวนแห่แสดงท่าทางต่าง
จังหวัดเลยซึ่งเรียกว่า "บุญหลวง"
ที่วัดโพนชัยอำเภอด่านซ้ายในเดือน แปดข้างขึ้นนิยมทำ 3 วันดังกล่าวคือวันแรกเป็นวัน รวม (วันโฮม) เดินทางมา ๆ ร่วมงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายซึ่งปกติ
จะนำบั้งไฟมาด้วยโดยเริ่มตั้งแต่เวลาประมาณ 04.00 น - 05.00 น โดยอัญเชิญก้อนหินจากแม่น้ำหมันใส่ พาน
ข้างศาลาโรงธรรมที่เตรียมจัดไว้ แล้ว ๆ ที่จะเกิดในงานได้
มีการละเล่นจะต่าง ๆ ทั้งกลางวันและกลางคืนเช่นเล่นเซิ้งบั้งไฟฟ้อนรำหัวเรื่อง: การสำคัญแสดงผีคุณตาโขนหัวเรื่อง: การสำคัญแสดงหัวเรื่อง: การเล่นต่าง ๆ เป็นต้นการธนาคารวันที่สองของงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายตั้งแต่ตอนเช้าถึง
บ่ายจะมีการละเล่นต่าง ณ วันที่ 17-3-57 ประเพณีผีตาโขน คือวิญญาณผีบรรพชน คือ บรรพชนเมื่อตายเป็นผีจึงเป็น สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่น่าเกรงขาม เพื่อเป็นการแสดงความเคารพ เมื่อถึงงานบุญประเพณีสำคัญ ๆ ตาม ฮีตประเพณี ถูกอกถูกใจแก่ผีบรรพชน และผ่านการ หรือเมืองด่านซ้ายในอดีต เช่นกันกับการเล่นทอดแหขายยา และทั่งบั้ง และคุณนางคุณมัทรีเข้าเมืองตามฮีตเดือนระเบียนสี่ (บุญเผวส) ของชาวอีสานซึ่งชาวด่านซ้าย ฮีตเดือนห้า (บุญสงกรานต์) ฮีตเดือนหก (บุญบั้งไฟ) และฮีตเดือนระเบียนคุณเจ็ด (บุญซำฮะ)











การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
คำว่า " ผีตาโขน " จัดว่าเป็นชื่อการละเล่นชนิดหนึ่งโดยผู้เล่นทำรูปหน้ากากมีลักษณะน่าเกลียดน่ากลัวมาสวมใส่และแต่งตัวมิดชิดแล้วเข้าขบวนแห่แสดงท่าทางต่างไม่มีในระหว่างมีงานบุญตามประเพณีประจำปีของท้องถิ่นพื้นบ้านการเล่นผีตาโขนนั้นจะมีเฉพาะงานบุญประเพณีที่ภาษาพื้นบ้านอเภอด่านซ้ายจังหวัดเลยซึ่งเรียกว่า " บุญหลวง "ที่วัดโพนชัยอำเภอด่านซ้ายในเดือนแปดข้างขึ้นนิยมทำ 3 ได้รับเลือกตั้งผ่านกระบวนการประชาธิปไตยของพม่าดังกล่าวความวันแรกเป็นวันรวม ( วันโฮม ) เป็นวันที่ประชาชนตามตำบลหมู่บ้านต่างจะเดินทางมาร่วมงานซึ่งปกติจะนำบั้งไฟมาด้วยโดยเริ่มตั้งแต่เวลาประมาณ 04.00 น . - 17.00 น . ทำพิธีอัญเชิญพระอุปคุตเข้ามาประดิษฐานอยู่ที่วัดโดยอัญเชิญก้อนหินจากแม่น้ำหมันใส่พานซึ่งสมมติว่าเป็นพระอุปคุตนำมาประดิษฐานไว้ที่หออุปคุตข้างศาลาโรงธรรมที่เตรียมจัดไว้แล้วเชื่อว่าจะสามารป้องกันเหตุเภทภัยต่างจะที่จะเกิดในงานได้เมื่อพิธีอัญเชิญพระอุปคุตเสร็จเรียบร้อยแล้วจะมีการละเล่นต่างจะทั้งกลางวันและกลางคืนเช่นเล่นเซิ้งบั้งไฟฟ้อนรำการแสดงผีตาโขนการแสดงการเล่นต่างจะเป็นต้นวันที่สองของงานตั้งแต่ตอนเช้าถึงบ่ายจะมีการละเล่นต่างไม่มีภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ตข้อมูลภาพณวันที่ 17-3-57ประเพณีผีตาโขนเป็นการละเล่นที่เกี่ยวเนื่องกับพิธีกรรมมีวัตถุประสงค์เพื่อบวงสรวงบูชาติดต่อกับผู้ชมดูการละเล่นความวิญญาณผีบรรพชนที่กลุ่มชนชาติพันธุ์ไท - ลาวเชื่อถือร่วมกันว่าบรรพชนความต้นตระกูลเผ่าพันธุ์ผู้ที่สร้างบ้านแปงเมืองบรรพชนเมื่อตายเป็นผีจึงเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่น่าเกรงขามมีอำนาจที่จะดลบันดาลให้ความอุดมสมบูรณ์หรือความหายนะแก่บ้านเมืองได้เพื่อเป็นการแสดงความเคารพเพื่อความอุดมสมบูรณ์พูนสุขของบ้านเมืองเมื่อถึงงานบุญประเพณีสำคัญจะตามฮีตประเพณีจึงจะต้องทำการละเล่นเต้นฟ้อนผีตาโขนเพื่อเซ่นสรวงบูชาให้เป็นที่ถูกอกถูกใจแก่ผีบรรพชนการละเล่นผีตาโขนจึงเป็นการละเล่นที่มีมาแต่โบราณและผ่านการสืบทอดทางพิธีกรรมเป็นสายยาวจากรุ่นต่อรุ่นมาจนถึงปัจจุบันผีตาโขนจึงเป็นการละเล่นส่วนหนึ่งในงานบุญ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: