เรียงความ  เรี่อง ประเทศไทยควรยกเลิกโทษประหารชีวิตหรือไม่ โทษประหารชีว การแปล - เรียงความ  เรี่อง ประเทศไทยควรยกเลิกโทษประหารชีวิตหรือไม่ โทษประหารชีว อังกฤษ วิธีการพูด

เรียงความ เรี่อง ประเทศไทยควรยกเลิ

เรียงความ
เรี่อง ประเทศไทยควรยกเลิกโทษประหารชีวิตหรือไม่
โทษประหารชีวิตเป็นเรื่องที่มีประเด็นถกเถียงกันมานานว่าในสังคมไทยของเราควรที่จะมีโทษประหารชีวิตอยู่อีกหรือไม่ ซึ่งปัจจุบันมีประเทศหลาย ๆ ประเทศได้ยกเลิกโทษประหารชีวิตไปแล้วและยังมีบ้างประเทศที่ยังคงมีการใช้โทษประหารชีวิตอยู่ และจะมีเพียงบางประเทศที่ได้มีการนำเอาโทษประหารชีวิตมาบังคับใช้อย่างจริงจัง เช่น ประเทศในแถบเอเชีย และตะวันออกกลางและหนึ่งในประเทศเหล่านี้ คือ ประเทศไทย ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นเมืองพุทธ ซึ่งมีคนในประเทศนับถือศาสนาพุทธประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ จึงควรที่จะต้องให้มีการยกเลิกโทษประหารชีวิต เพราะ โทษประหารชีวิตเป็นการละเมิดสิทธิในการมีชีวิตอยู่ โทษประหารชีวิตเป็นการสร้างความทรมานต่อ ร่างกาย และ จิตใจของผู้ที่จะถูกประหารชีวิตและครอบครัวผู้ที่ถูกประหาร และโทษประหารชีวิตไม่ได้ช่วยให้อาชญากรรมลดลง การประหารชีวิตไม่ได้นำมาใช้อย่างจริงจัง จึงควรที่จะยกเลิกโทษประหารชีวิต
โทษประหารชีวิตเป็นการละเมิดสิทธิในการมีชีวิตอยู่ ตามรัฐธรรมนูญไทยฉบับปัจจุบัน ประชาชนคนไทยทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในการดำรงชีวิต มนุษย์ทั้งหลายเกิดมาในสังคมมีสิทธิ์ที่จะใช้ชีวิตในสังคมภายใต้กฎหมาย กฎกติกาของสังคมแต่ไม่ใช้การทำลายชีวิต(การประหารชีวิต)เพียงเพราะว่าบุคคล คนนั้นได้กระทำความผิดภายใต้กฎกติกาของสังคมโดยที่เขาไม่มีโอกาสที่จะได้กลับตัวกลับใจ มนุษย์ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพในร่างกาย และความเสมอภาคในสังคม ซึ่งเป็นสิทธิ์ที่ไม่สามารถโอนให้แก่กันได้และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ การประหารชีวิตถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสังคมภายใต้ กฎกติกาของสังคม
โทษประหารชีวิตเป็นการสร้างความทรมานทุกข์ต่อร่างกายและจิตใจของผู้ที่จะถูกประหารชีวิตและครอบครัวของผู้ที่จะถูกประหารเมื่อผู้ใดกระทำความผิดซึ่งอาจเกิดจากการเจตนากระทำหรือไม่ก็ตาม การถูกจำคุกก็ถือว่าเป็นโทษที่ทุกข์ทรมานอยู่แล้วสำหรับผู้ต้องขังและครอบครัวแต่อย่างน้อยครอบครัวและผู้ใกล้ชิดยังมีโอกาสได้เยี่ยมเยียนสอบถามทุกข์สุขได้ การกระทำความผิดที่มีโทษประหารชีวิตและเมื่อถูกศาลพิพากษาให้ประหารชีวิต ทำให้เกิดผลกระทบทั้งทางด้านจิตใจ ด้านสังคม และผลกระทบที่เกิดขึ้นทำให้คนในครอบครัวต้องขาดต้องแบกรับความทุกข์ทรมานอยู่อีกต่อไป และในกรณีที่บุคคลผู้ที่จะถูกประหารเป็นผู้นำครอบครัวทำให้ครอบครัวขาดกำลังในการที่จะช่วยดูแลคนในครอบครัว

โทษประหารชีวิตไม่ได้ช่วยให้อาชญากรรมในสังคมลดลงแต่อย่างใด จะเห็นได้ว่าการมีโทษประหารชีวิตนั้นเมื่อศึกษาดูจากประวัติศาสตร์พบว่าการประหารชีวิตในอดีตถึงปัจจุบัน นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการประหารชีวิตจากการตัดคอมาเป็นการยิงเป้าในปีพุทธศักราช 2478-2552 มีนักโทษถูกประหารชีวิตทั้งทั้งสิ้น 319 คนกระทั้งวันที่ 18 กันยายน 2546 การประหารชีวิตด้วยปืนถูกยกเลิก และเปลี่ยนมาเป็นการใช้วิธีการฉีดยาหรือสารพิษเข้าสู่ร่างกายเป็นครั้งแรก การไม่เห็นด้วยและต้องการให้ยกเลิกโทษประหารชีวิตมีประเด็นหลัก 3 หัวข้อ คือ โทษประหารชีวิตเป็นการละเมิดสิทธิในการมีชีวิตอยู่ โทษประหารชีวิตเป็นการสร้างความทรมานต่อร่างกายและจิตใจของผู้ที่จะถูกประหารชีวิตและครอบครัวผู้ที่ถูกประหาร และโทษประหารชีวิตไม่ได้ช่วยให้อาชญากรรมลดลง ต่อมาการประหารชีวิตได้ยุติไป โดยระหว่างปี พุทธศักราช 2546-2551 แต่ในวันที่ 24 สิงหาคม 2552 มีการฉีดยาเพื่อประหารชีวิตนักโทษชาย 2 คน ที่เรือนจำบางขวาง ที่ถูกจับกุมข้อหาค้ายาเสพติดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2544 และศาลตัดสินลงโทษประหารชีวิตทำให้จนถึงวันนี้มีนักโทษถูกประหารชีวิตด้วยวิธีการฉีดยาแล้วทั้งสิ้น 6 คน และสาเหตุหลักที่ทำให้อาชญากรรมในประเทศไทยไม่ลดลงและมีแนวโน้มจะรุนแรงมากขึ้นเนื่องจากการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่เคร่งครัด และไม่จริงจังการมีโทษประหารชีวิตไม่ได้ทำให้ผู้ที่ก่ออาชญากรรมเกรงกลัวความผิดแต่อย่างใดเพราะเมื่อต้องโทษประหารชีวิตแล้วยังมีการลดโทษ อภัยโทษเมื่อติดคุกประมาณ 20 ปี ก็พ้นโทษแล้วจึงควรยกเลิกโทษประหารและหันมาบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและเคร่งครัดเสียทีไม่ใช่เป็นอยู่เหมือนทุกวันนี้
ดังนั้น การมีโทษประหารชีวิตจึงเป็นเหมือนการเขียนเสือให้วัวกลัว ถึงจะดูน่ากลัวหรือดุร้ายแค่ไหนแต่เมื่อไม่ได้นำมาบังคับใช้ได้อย่างจริงจังก็ไม่ได้ทำให้สังคมสงบสุขได้ จึงควรยกเลิกโทษประหารชีวิตในประเทศไทยและหันมาบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและยุติธรรมโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ บังคับใช้กฎหมายด้วยความเสมอภาค โทษประหารชีวิตจึงไม่จำเป็นสำหรับสังคมไทยและยังเปิดโอกาสให้กับคนที่สามารถกลับตัวกลับใจเป็นคนดีของสังคมและกลับมาอยู่กับครอบครัวและใช้ชีวิตในสังคมต่อไป

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The essay Helping countries Thailand should cancel the death penalty or not. โทษประหารชีวิตเป็นเรื่องที่มีประเด็นถกเถียงกันมานานว่าในสังคมไทยของเราควรที่จะมีโทษประหารชีวิตอยู่อีกหรือไม่ ซึ่งปัจจุบันมีประเทศหลาย ๆ ประเทศได้ยกเลิกโทษประหารชีวิตไปแล้วและยังมีบ้างประเทศที่ยังคงมีการใช้โทษประหารชีวิตอยู่ และจะมีเพียงบางประเทศที่ได้มีการนำเอาโทษประหารชีวิตมาบังคับใช้อย่างจริงจัง เช่น ประเทศในแถบเอเชีย และตะวันออกกลางและหนึ่งในประเทศเหล่านี้ คือ ประเทศไทย ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นเมืองพุทธ ซึ่งมีคนในประเทศนับถือศาสนาพุทธประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ จึงควรที่จะต้องให้มีการยกเลิกโทษประหารชีวิต เพราะ โทษประหารชีวิตเป็นการละเมิดสิทธิในการมีชีวิตอยู่ โทษประหารชีวิตเป็นการสร้างความทรมานต่อ ร่างกาย และ จิตใจของผู้ที่จะถูกประหารชีวิตและครอบครัวผู้ที่ถูกประหาร และโทษประหารชีวิตไม่ได้ช่วยให้อาชญากรรมลดลง การประหารชีวิตไม่ได้นำมาใช้อย่างจริงจัง จึงควรที่จะยกเลิกโทษประหารชีวิต โทษประหารชีวิตเป็นการละเมิดสิทธิในการมีชีวิตอยู่ ตามรัฐธรรมนูญไทยฉบับปัจจุบัน ประชาชนคนไทยทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในการดำรงชีวิต มนุษย์ทั้งหลายเกิดมาในสังคมมีสิทธิ์ที่จะใช้ชีวิตในสังคมภายใต้กฎหมาย กฎกติกาของสังคมแต่ไม่ใช้การทำลายชีวิต(การประหารชีวิต)เพียงเพราะว่าบุคคล คนนั้นได้กระทำความผิดภายใต้กฎกติกาของสังคมโดยที่เขาไม่มีโอกาสที่จะได้กลับตัวกลับใจ มนุษย์ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพในร่างกาย และความเสมอภาคในสังคม ซึ่งเป็นสิทธิ์ที่ไม่สามารถโอนให้แก่กันได้และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ การประหารชีวิตถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสังคมภายใต้ กฎกติกาของสังคม โทษประหารชีวิตเป็นการสร้างความทรมานทุกข์ต่อร่างกายและจิตใจของผู้ที่จะถูกประหารชีวิตและครอบครัวของผู้ที่จะถูกประหารเมื่อผู้ใดกระทำความผิดซึ่งอาจเกิดจากการเจตนากระทำหรือไม่ก็ตาม การถูกจำคุกก็ถือว่าเป็นโทษที่ทุกข์ทรมานอยู่แล้วสำหรับผู้ต้องขังและครอบครัวแต่อย่างน้อยครอบครัวและผู้ใกล้ชิดยังมีโอกาสได้เยี่ยมเยียนสอบถามทุกข์สุขได้ การกระทำความผิดที่มีโทษประหารชีวิตและเมื่อถูกศาลพิพากษาให้ประหารชีวิต ทำให้เกิดผลกระทบทั้งทางด้านจิตใจ ด้านสังคม และผลกระทบที่เกิดขึ้นทำให้คนในครอบครัวต้องขาดต้องแบกรับความทุกข์ทรมานอยู่อีกต่อไป และในกรณีที่บุคคลผู้ที่จะถูกประหารเป็นผู้นำครอบครัวทำให้ครอบครัวขาดกำลังในการที่จะช่วยดูแลคนในครอบครัว โทษประหารชีวิตไม่ได้ช่วยให้อาชญากรรมในสังคมลดลงแต่อย่างใด จะเห็นได้ว่าการมีโทษประหารชีวิตนั้นเมื่อศึกษาดูจากประวัติศาสตร์พบว่าการประหารชีวิตในอดีตถึงปัจจุบัน นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการประหารชีวิตจากการตัดคอมาเป็นการยิงเป้าในปีพุทธศักราช 2478-2552 มีนักโทษถูกประหารชีวิตทั้งทั้งสิ้น 319 คนกระทั้งวันที่ 18 กันยายน 2546 การประหารชีวิตด้วยปืนถูกยกเลิก และเปลี่ยนมาเป็นการใช้วิธีการฉีดยาหรือสารพิษเข้าสู่ร่างกายเป็นครั้งแรก การไม่เห็นด้วยและต้องการให้ยกเลิกโทษประหารชีวิตมีประเด็นหลัก 3 หัวข้อ คือ โทษประหารชีวิตเป็นการละเมิดสิทธิในการมีชีวิตอยู่ โทษประหารชีวิตเป็นการสร้างความทรมานต่อร่างกายและจิตใจของผู้ที่จะถูกประหารชีวิตและครอบครัวผู้ที่ถูกประหาร และโทษประหารชีวิตไม่ได้ช่วยให้อาชญากรรมลดลง ต่อมาการประหารชีวิตได้ยุติไป โดยระหว่างปี พุทธศักราช 2546-2551 แต่ในวันที่ 24 สิงหาคม 2552 มีการฉีดยาเพื่อประหารชีวิตนักโทษชาย 2 คน ที่เรือนจำบางขวาง ที่ถูกจับกุมข้อหาค้ายาเสพติดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2544 และศาลตัดสินลงโทษประหารชีวิตทำให้จนถึงวันนี้มีนักโทษถูกประหารชีวิตด้วยวิธีการฉีดยาแล้วทั้งสิ้น 6 คน และสาเหตุหลักที่ทำให้อาชญากรรมในประเทศไทยไม่ลดลงและมีแนวโน้มจะรุนแรงมากขึ้นเนื่องจากการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่เคร่งครัด และไม่จริงจังการมีโทษประหารชีวิตไม่ได้ทำให้ผู้ที่ก่ออาชญากรรมเกรงกลัวความผิดแต่อย่างใดเพราะเมื่อต้องโทษประหารชีวิตแล้วยังมีการลดโทษ อภัยโทษเมื่อติดคุกประมาณ 20 ปี ก็พ้นโทษแล้วจึงควรยกเลิกโทษประหารและหันมาบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและเคร่งครัดเสียทีไม่ใช่เป็นอยู่เหมือนทุกวันนี้ ดังนั้น การมีโทษประหารชีวิตจึงเป็นเหมือนการเขียนเสือให้วัวกลัว ถึงจะดูน่ากลัวหรือดุร้ายแค่ไหนแต่เมื่อไม่ได้นำมาบังคับใช้ได้อย่างจริงจังก็ไม่ได้ทำให้สังคมสงบสุขได้ จึงควรยกเลิกโทษประหารชีวิตในประเทศไทยและหันมาบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและยุติธรรมโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ บังคับใช้กฎหมายด้วยความเสมอภาค โทษประหารชีวิตจึงไม่จำเป็นสำหรับสังคมไทยและยังเปิดโอกาสให้กับคนที่สามารถกลับตัวกลับใจเป็นคนดีของสังคมและกลับมาอยู่กับครอบครัวและใช้ชีวิตในสังคมต่อไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: