สื่อมวลชนยุคประชาคมอาเซียนขอนับถอยหลังสู่ปี 2558 ภูมิภาคเอเชียตะวันออก การแปล - สื่อมวลชนยุคประชาคมอาเซียนขอนับถอยหลังสู่ปี 2558 ภูมิภาคเอเชียตะวันออก อังกฤษ วิธีการพูด

สื่อมวลชนยุคประชาคมอาเซียนขอนับถอยห

สื่อมวลชนยุคประชาคมอาเซียน
ขอนับถอยหลังสู่ปี 2558 ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กระโดดเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (Asean Community) ภายใต้ 3 เสาหลัก ด้านประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน (Asean Political and Security Community) หรือ APSC ด้าน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ((Asean Economic Community) หรือ AEC และ ด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (Asean Socio-Cultural Community) หรือ ASCC หลักการพื้นฐานความ ร่วมมือ 3 ด้านอยู่ภายใต้เงื่อนไขไม่ แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกันต่อไปประชาคมอาเซียน 10 ประเทศ ประกอบด้วยสาธารณรัฐ อินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย สาธารณรัฐ ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ราช อาณาจักรไทย บรูไนดารุสซาลาม สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สหภาพเมียนมาร์ และราชอาณาจักร กัมพูชา ต้องอยู่ภายใต้กรอบยึดมั่นใน “หลักการแห่งประชาธิปไตย หลักนิติธรรม และธรรมาภิบาล การเคารพและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน รวมถึงเสรีภาพขั้นพื้นฐาน” เพื่อเป็นเกราะป้องกันพลเมืองกว่า 600 ล้านคนในภูมิภาคนี้ แต่ขณะนี้สภาพความเป็นจริง ของระบบการปกครองที่เป็นประชาธิปไตย แตกต่างลดหลั่นกันไป เป็นอุปสรรคต่อ การยกระดับเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ให้เข้มแข็ง มีพลังต่อรองบนเวทีโลก โดยประเทศไทย ปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยภายใต้พระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข แต่ไทยยังสุ่มเสี่ยงถอยหลัง ลงคลองสู่ระบบการเผด็จการทหารอีก อินโดนีเซียตกอยู่ในสภาพที่กลุ่มลัทธิ การเมืองอิสลามหัวรุนแรงที่จะล้มล้าง การอยู่ร่วมกันภายใต้ความแตกต่างของอุดมการณ์ชาติว่าด้วยหลักปัญจศีลฟิลิปปินส์ตกอยู่ภายใต้เผด็จการพลเรือนเสียนานขณะนี้วนเวียนอยู่กับนักการเมืองไม่กี่ตระกูลที่สลับฉากกันเข้ามาบริหาร ประเทศเมียนมาร์ ทหารกำลังคลาย อำนาจและลดบทบาทฝ่ายทหารใน รัฐสภา มาเลเซีย สิงคโปร์ ตกอยู่ในสภาพ รัฐบาลเสียงข้างมากพรรคเดียว แม้ฝ่าย ค้านที่ไม่เข้มแข็งเริ่มขยับเข้ามามีบทบาทมากขึ้น แต่อำนาจยังอยู่ในมือพรรค เสียงข้างมากมายาวนาน และ ลาว เวียดนาม ล้วนอยู่ภายใต้การบริหาร จัดการโดยพรรคคอมมิวนิตส์ กัมพูชาตกอยู่ในกำมือผู้นำคนเดียวมายาวนาน เลือกตั้งกี่ครั้งก็ได้รับเลือกเข้ามาบริหาร ประเทศอีก และบูรไนประเทศเล็กๆ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ระบบการปกครองแต่ละประเทศที่มีประชาธิปไตยแตกต่างลดหลั่น กัน ย่อมมีผลกระทบต่อเสรีภาพสื่อมวลชน จะกระทบอย่างไรไปจำกัดนิยามความว่า “ประชาคมอาเซียน”ในมุมมอง “กวี จงกิจถาวร” ประธานสมาพันธ์ สื่อมวลชนแห่งเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ (SEAPA) ขณะนี้เหลือระยะเวลา ไม่ถึง 1,000 วัน ก็เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ตามทฤษฎีต้องเป็นประชาคมเดียวกันที่ไร้พรมแดนภายในปี 2558 ข้อเท็จจริงยังไม่เป็นตามกรอบอาเซียน เพราะปัญหา ต่างๆ ยังไม่ได้สะสาง ตามเสาหลัก ประชาคมอาเซียนจะต้องครบถ้วน สมบูรณ์ 3 มิติ คือ มิติการเมืองและ ความมั่นคง มิติเศรษฐกิจ และมิติสังคม และวัฒนธรรม ในรอบ 2 ปีที่ผ่านมาประเทศไทย รณรงค์เฉพาะเรื่องประชาคมอาเซียนด้าน เศรษฐกิจ (AEC) ต้องยอมรับคนไทยรับรู้ เรื่อง AEC มากกว่ารับรู้เรื่องประชาคม อาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง (APSC) และประชาคมด้านสังคมและ วัฒนธรรม (ASCC) คนไทยจะรู้สึกว่า ประเทศไทยต้องเตรียมความพร้อมเฉพาะ ด้าน AEC เพื่อแข่งขันกับประเทศใน อาเซียนด้วยกัน ไม่เช่นนั้นประเทศไทยจะ เสียเปรียบประเทศเพื่อนบ้าน กลัวธุรกิจ SME จะถูกแย่งตลาด จะกลัวไปทำไม มันไม่ใช่ ธุรกิจที่ไทยพร้อมก็เปิด ธุรกิจไหน ไม่พร้อมก็ไม่ต้องเปิดเสรี ข้อเท็จจริงไทยจะได้ส่วนหนึ่ง เสียส่วนหนึ่ง ผลที่ได้จะเกิดความสมดุลในตัวเอง มันไม่ได้หมด หรือเสียหมด คนไทยต้องเข้าใจภาพรวม อย่างนี้ ไม่เช่นนั้นผมกลัวว่าการเข้าใจ ประชาคมอาเซียนในความหมายของ คนไทยจะไม่ยั่งยืน และหมิ่นเหม่ในอนาคต และนำไปสู่การออกนโยบายที่ผิดเพี้ยน“ข้อเท็จจริงการเข้าสู่ประชาคม อาเซียนจะเป็นกลุ่มเดียวกัน ฐานผลิต เดียวกัน ตลาดเดียวกัน เพื่อส่งเสริม อำนาจต่อรองในฐานะกลุ่มตลาดเดียวกัน ประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทยต้องเตรียม พร้อมบูรณาการทั้งหมด ไม่ใช่มาตีกัน ภายในกลุ่ม อย่าเข้าใจผิดไปหยิบ AEC ขึ้นมารณรงค์ และพัฒนาแต่ มิติเดียวคิดว่า มิตินี้เป็นสิ่งที่อาเซียนกำลังไปสู่การเป็น ประชาคมอาเซียนอย่างที่บอกต้องร่วมกัน3 มิติหรือ 3 เสาหลักเข้ามาผสมผสานเป็น ประชาคมอาเซียน ขอย้ำว่าไม่ควรเน้น เสาหลักใดเสาหลักหนึ่ง” เพราะไปจับเสาหลักด้าน เศรษฐกิจก็จะกระทบต่อเสาหลักด้าน สังคมและวัฒนธรรม ไปจับเสาหลักด้าน สังคมและวัฒนธรรมก็กระทบต่อเสาหลัก ด้านการเมืองและความมั่นคง โดยเฉพาะ ด้านการเมืองและความมั่นคงเป็น ประเด็นที่สำคัญ เพราะหลายประเด็นใน อาเซียนส่วนใหญ่ยังมีปัญหาพื้นที่ทับซ้อน ระดับทวิภาคี เช่น ไทยกับกัมพูชา สิงคโปร์ กับมาเลเซีย มาเลเซียกับอินโดนีเซีย อินโดนีเซียกับฟิลิปปินส์ ปัญหาระดับ ทวิภาคีระหว่างประเทศ หากไม่มีกลไก เข้าไปแก้ไขหรือสกัดปัญหาเหล่านั้นไม่ให้ บานปลายออกไป ชาติอาเซียนจะร่วมเป็น ปึกแผ่นเป็นประชาคมอาเซียนได้อย่างไร ด้านสังคมและวัฒนธรรมเป็น เสาหลักที่สำคัญที่สุด มีแผนปฏิบัติการ ชัดเจนจะต้องดำเนินการทำอะไรบ้าง ถึงจะทำให้ประชาคมอาเซียนสมบูรณ์ แต่น่าเสียดายไม่มีใครให้ความสนใจ และ เสาหลักด้านนี้มันเป็นเรื่องยากมาก เพราะ รวมไปถึงวัฒนธรรมเกี่ยวกับอาเซียนที่มี ทั้งหมดกว่า 600 ล้านคน มีความหลากหลาย ทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ระบบการปกครอง และยังมีเรื่องอื่นๆ อีก ยกตัวอย่างแค่อินโดนีเซีย มี ภาษาที่ใช้ในประเทศกว่า 300 ภาษา ไทย มีภาษาใช้ในประเทศ 72 ภาษา อาเซียน เป็นศูนย์รวมศาสนาสำคัญของโลกที่หลากหลายมีชาติอิสลามสายกลางที่ใหญ่ที่สุด250ล้านคนอยู่ที่อินโดนีเซียมาเลเซียเป็นชาติมุสลิมที่ทันสมัยที่สุดมีชาติที่นับถือศาสนาพุทธมากที่สุดก็คือ ลาว กัมพูชา ไทย ฟิลิปปินส์มีชาวคริสตจักรมากที่สุดในอาเซียน สิงคโปร์เป็นสมาชิกอาเซียนที่มีเรตติ้งที่ดีที่สุดทุกด้าน บรูไนเป็นชาติที่รวยที่สุด ประชาชนไม่ต้องเสียภาษี
ผมข้อย้ำว่าทุกชาติอาเซียนต้อง ขับเคลื่อน 3 เสาหลักไปพร้อมกันถึงจะเป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The mass media era Britsขอนับถอยหลังสู่ปี 2558 ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กระโดดเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (Asean Community) ภายใต้ 3 เสาหลัก ด้านประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน (Asean Political and Security Community) หรือ APSC ด้าน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ((Asean Economic Community) หรือ AEC และ ด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (Asean Socio-Cultural Community) หรือ ASCC หลักการพื้นฐานความ ร่วมมือ 3 ด้านอยู่ภายใต้เงื่อนไขไม่ แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกันต่อไปประชาคมอาเซียน 10 ประเทศ ประกอบด้วยสาธารณรัฐ อินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย สาธารณรัฐ ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ราช อาณาจักรไทย บรูไนดารุสซาลาม สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สหภาพเมียนมาร์ และราชอาณาจักร กัมพูชา ต้องอยู่ภายใต้กรอบยึดมั่นใน “หลักการแห่งประชาธิปไตย หลักนิติธรรม และธรรมาภิบาล การเคารพและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน รวมถึงเสรีภาพขั้นพื้นฐาน” เพื่อเป็นเกราะป้องกันพลเมืองกว่า 600 ล้านคนในภูมิภาคนี้ แต่ขณะนี้สภาพความเป็นจริง ของระบบการปกครองที่เป็นประชาธิปไตย แตกต่างลดหลั่นกันไป เป็นอุปสรรคต่อ การยกระดับเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ให้เข้มแข็ง มีพลังต่อรองบนเวทีโลก โดยประเทศไทย ปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยภายใต้พระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข แต่ไทยยังสุ่มเสี่ยงถอยหลัง ลงคลองสู่ระบบการเผด็จการทหารอีก อินโดนีเซียตกอยู่ในสภาพที่กลุ่มลัทธิ การเมืองอิสลามหัวรุนแรงที่จะล้มล้าง การอยู่ร่วมกันภายใต้ความแตกต่างของอุดมการณ์ชาติว่าด้วยหลักปัญจศีลฟิลิปปินส์ตกอยู่ภายใต้เผด็จการพลเรือนเสียนานขณะนี้วนเวียนอยู่กับนักการเมืองไม่กี่ตระกูลที่สลับฉากกันเข้ามาบริหาร ประเทศเมียนมาร์ ทหารกำลังคลาย อำนาจและลดบทบาทฝ่ายทหารใน รัฐสภา มาเลเซีย สิงคโปร์ ตกอยู่ในสภาพ รัฐบาลเสียงข้างมากพรรคเดียว แม้ฝ่าย ค้านที่ไม่เข้มแข็งเริ่มขยับเข้ามามีบทบาทมากขึ้น แต่อำนาจยังอยู่ในมือพรรค เสียงข้างมากมายาวนาน และ ลาว เวียดนาม ล้วนอยู่ภายใต้การบริหาร จัดการโดยพรรคคอมมิวนิตส์ กัมพูชาตกอยู่ในกำมือผู้นำคนเดียวมายาวนาน เลือกตั้งกี่ครั้งก็ได้รับเลือกเข้ามาบริหาร ประเทศอีก และบูรไนประเทศเล็กๆ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ระบบการปกครองแต่ละประเทศที่มีประชาธิปไตยแตกต่างลดหลั่น กัน ย่อมมีผลกระทบต่อเสรีภาพสื่อมวลชน จะกระทบอย่างไรไปจำกัดนิยามความว่า “ประชาคมอาเซียน”ในมุมมอง “กวี จงกิจถาวร” ประธานสมาพันธ์ สื่อมวลชนแห่งเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ (SEAPA) ขณะนี้เหลือระยะเวลา ไม่ถึง 1,000 วัน ก็เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ตามทฤษฎีต้องเป็นประชาคมเดียวกันที่ไร้พรมแดนภายในปี 2558 ข้อเท็จจริงยังไม่เป็นตามกรอบอาเซียน เพราะปัญหา ต่างๆ ยังไม่ได้สะสาง ตามเสาหลัก ประชาคมอาเซียนจะต้องครบถ้วน สมบูรณ์ 3 มิติ คือ มิติการเมืองและ ความมั่นคง มิติเศรษฐกิจ และมิติสังคม และวัฒนธรรม ในรอบ 2 ปีที่ผ่านมาประเทศไทย รณรงค์เฉพาะเรื่องประชาคมอาเซียนด้าน เศรษฐกิจ (AEC) ต้องยอมรับคนไทยรับรู้ เรื่อง AEC มากกว่ารับรู้เรื่องประชาคม อาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง (APSC) และประชาคมด้านสังคมและ วัฒนธรรม (ASCC) คนไทยจะรู้สึกว่า ประเทศไทยต้องเตรียมความพร้อมเฉพาะ ด้าน AEC เพื่อแข่งขันกับประเทศใน อาเซียนด้วยกัน ไม่เช่นนั้นประเทศไทยจะ เสียเปรียบประเทศเพื่อนบ้าน กลัวธุรกิจ SME จะถูกแย่งตลาด จะกลัวไปทำไม มันไม่ใช่ ธุรกิจที่ไทยพร้อมก็เปิด ธุรกิจไหน ไม่พร้อมก็ไม่ต้องเปิดเสรี ข้อเท็จจริงไทยจะได้ส่วนหนึ่ง เสียส่วนหนึ่ง ผลที่ได้จะเกิดความสมดุลในตัวเอง มันไม่ได้หมด หรือเสียหมด คนไทยต้องเข้าใจภาพรวม อย่างนี้ ไม่เช่นนั้นผมกลัวว่าการเข้าใจ ประชาคมอาเซียนในความหมายของ คนไทยจะไม่ยั่งยืน และหมิ่นเหม่ในอนาคต และนำไปสู่การออกนโยบายที่ผิดเพี้ยน“ข้อเท็จจริงการเข้าสู่ประชาคม อาเซียนจะเป็นกลุ่มเดียวกัน ฐานผลิต เดียวกัน ตลาดเดียวกัน เพื่อส่งเสริม อำนาจต่อรองในฐานะกลุ่มตลาดเดียวกัน ประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทยต้องเตรียม พร้อมบูรณาการทั้งหมด ไม่ใช่มาตีกัน ภายในกลุ่ม อย่าเข้าใจผิดไปหยิบ AEC ขึ้นมารณรงค์ และพัฒนาแต่ มิติเดียวคิดว่า มิตินี้เป็นสิ่งที่อาเซียนกำลังไปสู่การเป็น ประชาคมอาเซียนอย่างที่บอกต้องร่วมกัน3 มิติหรือ 3 เสาหลักเข้ามาผสมผสานเป็น ประชาคมอาเซียน ขอย้ำว่าไม่ควรเน้น เสาหลักใดเสาหลักหนึ่ง” เพราะไปจับเสาหลักด้าน เศรษฐกิจก็จะกระทบต่อเสาหลักด้าน สังคมและวัฒนธรรม ไปจับเสาหลักด้าน สังคมและวัฒนธรรมก็กระทบต่อเสาหลัก ด้านการเมืองและความมั่นคง โดยเฉพาะ ด้านการเมืองและความมั่นคงเป็น ประเด็นที่สำคัญ เพราะหลายประเด็นใน อาเซียนส่วนใหญ่ยังมีปัญหาพื้นที่ทับซ้อน ระดับทวิภาคี เช่น ไทยกับกัมพูชา สิงคโปร์ กับมาเลเซีย มาเลเซียกับอินโดนีเซีย อินโดนีเซียกับฟิลิปปินส์ ปัญหาระดับ ทวิภาคีระหว่างประเทศ หากไม่มีกลไก เข้าไปแก้ไขหรือสกัดปัญหาเหล่านั้นไม่ให้ บานปลายออกไป ชาติอาเซียนจะร่วมเป็น ปึกแผ่นเป็นประชาคมอาเซียนได้อย่างไร ด้านสังคมและวัฒนธรรมเป็น เสาหลักที่สำคัญที่สุด มีแผนปฏิบัติการ ชัดเจนจะต้องดำเนินการทำอะไรบ้าง ถึงจะทำให้ประชาคมอาเซียนสมบูรณ์ แต่น่าเสียดายไม่มีใครให้ความสนใจ และ เสาหลักด้านนี้มันเป็นเรื่องยากมาก เพราะ รวมไปถึงวัฒนธรรมเกี่ยวกับอาเซียนที่มี ทั้งหมดกว่า 600 ล้านคน มีความหลากหลาย ทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ระบบการปกครอง และยังมีเรื่องอื่นๆ อีก ยกตัวอย่างแค่อินโดนีเซีย มี ภาษาที่ใช้ในประเทศกว่า 300 ภาษา ไทย มีภาษาใช้ในประเทศ 72 ภาษา อาเซียน เป็นศูนย์รวมศาสนาสำคัญของโลกที่หลากหลายมีชาติอิสลามสายกลางที่ใหญ่ที่สุด250ล้านคนอยู่ที่อินโดนีเซียมาเลเซียเป็นชาติมุสลิมที่ทันสมัยที่สุดมีชาติที่นับถือศาสนาพุทธมากที่สุดก็คือ ลาว กัมพูชา ไทย ฟิลิปปินส์มีชาวคริสตจักรมากที่สุดในอาเซียน สิงคโปร์เป็นสมาชิกอาเซียนที่มีเรตติ้งที่ดีที่สุดทุกด้าน บรูไนเป็นชาติที่รวยที่สุด ประชาชนไม่ต้องเสียภาษี ASEAN Nations reiterated that message, I have to drive 3 pillars along the reach is.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Press the ASEAN
request Countdown to 2558 in Southeast Asia. Jump into the ASEAN Community (Asean Community) under the third pillar of the community and politics. ASEAN Security (Asean Political and Security Community) or the APSC AEC ((Asean Economic Community) and the Socio-Cultural Community, or AEC (Asean Socio-Cultural Community) or ASCC basic principles of cooperation under the third condition. Intervention in the internal affairs of each other next 10 ASEAN countries include Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore, Brunei Darussalam, the Kingdom of Thailand. Vietnam Laos Union of Myanmar And the Kingdom of Cambodia, under the framework adherence. "The principles of democracy, rule of law and good governance. Respect for and protection of human rights, including fundamental freedoms "to shield citizens than 600 million people in the region. But now reality. Of a democratic regime. Unlike descending Hinders Elevating the ASEAN community has a strong bargaining power on the world stage by Thailand regime. Democracy under the King as Head of State, but Thailand is still vulnerable backwards. Into the canal to the other dictators. Indonesia was in a state of cult groups. Political Islamic extremists to overthrow. Coexistence under the different national ideology Pancasila with the Philippines under the civilian dictatorship now long cherished the few politicians who break the clan together into administration. Country Myanmar Military Extracting And reduce the role of military power in Malaysia, Singapore, the fall in single-party majority government, despite strong opposition that does not begin to move into a role. But power remains in the hands. Majority Laos and Vietnam have long been under administration. Managed by the party's Communications Magazine. Cambodia, one of the leaders in the grip for a long time. Election as many times elected to run the country again and Boran small country. In absolute monarchy Each country has a democratic regime are cascaded inevitably have an impact on press freedom. What is the limit to define that. "ASEAN Community" in the "Bard said KITTAWORN" confederation. Media in South East Asia (SEAPA) is now less than 1,000 days remaining ASEAN community. According to theory, a community site that borders the year 2558 the facts are not in accordance with ASEAN because the issues are not clear on the pillars of ASEAN will have to complete three dimensions, political and security dimension, economic and social and cultural dimensions. in the past two years, Thailand. Thematic Campaign ASEAN Economic (AEC) AEC to accept Thailand's recognition of the international community over recognition. ASEAN Political-Security (APSC) and the Socio-Cultural Community (ASCC) Thailand is felt. Thailand must prepare the country to compete with the AEC. ASEAN together Otherwise, the country will Unfavorable neighbors fear the SME market is spoiled afraid to why it's not a business that Thailand was ready to open for business, it is not without liberalization. Thailand is one of the facts Bad part The result is a balance in itself, it is not broken down or run out of people to understand overview Thailand is not, then I fear that the understanding. ASEAN Community within the meaning of Thailand is not sustainable And precarious future And lead to policies that distorted "facts into the community. ASEAN as a group to promote the production of the same market. Bargaining power in the market, including the United States must be prepared. With the integration of all Do not be mistaken, not attacked within the group to pick up the AEC and development campaign, but one-dimensional thinking. This dimension is what ASEAN is going to be. ASEAN is said to share three-dimensional or three pillars into the mix. Asean Community We emphasize that the focus should not One of the main pillars of any "due to hold its pillars. The economy is the main pillar. Society and Culture To capture the pillar Society and culture are the cornerstones. Political and security, particularly in the political and security. Key issues Because many of the issues ASEAN remains the most problematic area of overlapping bilateral as Thailand and Cambodia, Singapore, Malaysia, Indonesia and Malaysia. Indonesia and the Philippines bilateral issues between countries, there is no mechanism to fix the problem or makes them not to escalate the ASEAN nations will participate. How can a united ASEAN community Society and Culture The most important pillars Action Plan Clearly must continue to do. To make the ASEAN Community Unfortunately, no one paid attention, and the pillars, it is very difficult to culture because the region with more than 600 million people are diverse. Ethnic, cultural history as regime. And, there are many other examples of how the Indonesian language used in over 300 languages ​​Thailand language used in 72 Asian languages ​​is centered religions of the world in a wide range of Islamic moderation, the largest at 250 million people. Indonesia, Malaysia, a Muslim country that has the most advanced national Buddhist Thailand, Laos, Cambodia, the Philippines is the most have the most churches in the region. Singapore is a member of ASEAN, has the best ratings on all sides. Brunei is the richest People untaxed
I repeat that all three pillars of the ASEAN-driven need to be together.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: