อุทยานแห่งชาติภูแลนคา มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่ ตำบลบ้านหัน ตำบลส การแปล - อุทยานแห่งชาติภูแลนคา มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่ ตำบลบ้านหัน ตำบลส อังกฤษ วิธีการพูด

อุทยานแห่งชาติภูแลนคา มีพื้นที่ครอบ

อุทยานแห่งชาติภูแลนคา มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่ ตำบลบ้านหัน ตำบลสระโพนทอง ตำบลโนนกอก ตำบลซับสีทอง ตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกุดชุมแสง ตำบลคูเมือง อำเภอหนองบัวแดง ตำบลท่ามะไฟหวาน อำเภอแก่งค้อ ตำบลห้วยต้อน อำเภอเมืองชัยภูมิ ตำบลภูแลนคา อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ สภาพป่าเป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์ ประกอบไปด้วยแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าหลายชนิด มีจุดเด่นทางธรรมชาติที่น่าสนใจ เช่น จุดชมวิวภูแลนคา ผากล้วยไม้ หินปราสาท ประตูโขลง มอหินขาว เป็นต้น และการเดินทางเข้าไปเที่ยวชมก็สะดวก มีเนื้อที่ประมาณ 200.50 ตารางกิโลเมตร หรือ 125,312.50 ไร่

ความเป็นมา : สภาพพื้นที่ป่าที่กำหนดเป็นเขตป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 และ 7 มีนาคม 2535 ในเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติภูแลนคาด้านทิศเหนือ และป่าสงวนแห่งชาติภูแลนคาด้านทิศใต้ของท้องที่อำเภอเมือง อำเภอบ้านเขว้า อำเภอหนองบัวแดง และอำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ตามคำสั่งกรมป่าไม้ที่ 2262/2539 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2539 ได้ให้นายสุรชัย นายจำเริญ เจ้าพนักงานป่าไม้ 5 ส่วนอุทยานแห่งชาติ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติตาดโตน ให้ไปดำเนินการสำรวจ เบื้องต้นป่าสงวนดังกล่าว เพื่อจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้เข้าไปประสานงานกับทางจังหวัด ชัยภูมิ และจากการสำรวจเจ้าหน้าที่ได้ประสานงานกับหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน องค์กรต่าง ๆ ประชาชน และรวมถึงหน่วยงานป่าไม้ประจำจังหวัดชัยภูมิ และป่าไม้เขตนครราชสีมาที่เกี่ยวข้อง

ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2539 ลงวันที่ 23 กันยายน 2539 ของคณะอนุกรรมการป้องกันและปราบปรามการลักลอบทำลายทรัพยากรป่าไม้ พิจารณาเห็นชอบในการกำหนดประกาศพื้นที่ป่าอนุรักษ์บางส่วน ในเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูแลนคาด้านทิศเหนือ และป่าสงวนแห่งชาติป่าภูแลนคาด้านทิศใต้ ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 92,500 ไร่ เพื่อจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ ตามหนังสือกองอุทยานแห่งชาติ ที่ กษ. 0712/พิเศษ ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2539 ได้มีมติเห็นชอบและให้การสนับสนุนที่กรมป่าไม้จะประกาศพื้นที่ป่าอนุรักษ์ดังกล่าว เป็นอุทยานแห่งชาติโดยเร็ว และมีมติแนวความคิดเห็นตรงกัน โดยให้ชื่อหน่วยงานใหม่นี้ว่า “อุทยานแห่งชาติภูแลนคา” ด้วยเหตุผลที่ว่าแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ ของอุทยานแห่งชาติแห่งใหม่นี้ตั้งอยู่ในเทือกเขาภูแลนคา และเป็นที่รู้จักกันดีของประชาชนโดยทั่วไป ซึ่งนายสถิตย์ สวินทร อธิบดีกรมป่าไม้ อนุมัติให้ใช้ชื่อ “อุทยานแห่งชาติภูแลนคา” เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2540

ต่อมาปี 2550 ได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดบริเวณที่ดินป่าภูแลนคาด้านทิศเหนือ และป่าภูแลนคาด้านทิศใต้ ในท้องที่ตำบลบ้านหัน ตำบลสระโพนทอง ตำบลโนนกอก ตำบลซับสีทอง ตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกุดชุมแสง ตำบลคูเมือง อำเภอหนองบัวแดง ตำบลท่ามะไฟหวาน อำเภอแก่งค้อ ตำบลห้วยต้อน อำเภอเมืองชัยภูมิ ตำบลภูแลนคา อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ เนื้อที่ประมาณ 200.50 ตารางกิโลเมตร หรือ 125,312.50 ไร่ ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนที่ 37 ก ลงวันที่ 27 กรกฎาคม 2550 จัดเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 108 ของประเทศ

ขนาดพื้นที่
125312.50 ไร่

หน่วยงานในพื้นที่
หน่วยพิทักษ์อุทยานฯที่ ภค.1 (ภูคี)
ที่ทำการอุทยานแห่งชาติภูแลนคา
หน่วยพิทักษ์อุทยานฯที่ ภค.2 (พานทอง)

ภาพแผนที่


ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะโดยทั่วไปของพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่สำรวจเป็นเทือกเขาภูแลนคา ภูเขียว ภูคำน้อย พื้นที่เป็นภูเขาสลับซับซ้อน และที่ราบสูง ซึ่งจะมีระดับความสูงตั้งแต่ประมาณ 200 ถึง 1,038 เมตร จากระดับน้ำทะเล จะมียอดภูคี ซึ่งเป็นยอดเขาที่มีความสูง สูงสุดของพื้นที่ โดยมีความสูงประมาณ 1,038 เมตร จากระดับน้ำทะเล พื้นที่ทางด้านทิศใต้จะเป็นพื้นที่ลาด ซึ่งจะอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ประมาณ 200 ถึง 700 เมตร และพื้นที่ทางด้านทิศเหนือจะเป็นพื้นที่ลาดชันมาก มีหน้าผาหุบเขาเป็นส่วนใหญ่

ลักษณะภูมิอากาศ
จัดอยู่ในภูมิอากาศฝนเมืองร้อนมี 3 ฤดู ได้รับอิทธิพลจากมรสุมประจำฤดู อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 27.66 องศาเซียส ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยทั้งปี 60 % ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,155.36

พืชพันธุ์และสัตว์ป่า
ลักษณะพันธ์ุพืช
จากสภาพพื้นที่เทือกเขาภูแลนคาที่มีระดับความสูงประมาณ 300 - 1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง จึงก่อให้เกิดสภาพป่าไม้ที่หลากหลายถึง 4 ประเภท ดังนี้
1. ป่าเบญจพรรณ เป็นป่าผสมผลัดใบ พบโดยทั่วไปบริเวณหน้าผาด้านทิศเหนือของพื้นที่ ในระดับความสูงประมาณ 300 - 800 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 96 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 48 ของพื้นที่ พันธุ์ไม้ที่พบโดยทั่วไปได้แก่ ตะแบก ประดู่ มะค่าโมง ตีนนก ไม้ไผ่ ฯลฯ
2.ป่าดิบแล้ง เป็นป่าไม้ผลัดใบ พบโดยทั่วไปตามร่องเขาและลำห้วย ในระดับความสูงประมาณ 400 - 1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 30 ของพื้นที่ พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ ไทร ตะแบก ประดู่ ตะเคียน ฯลฯ สำหรับไม้พื้นล่างจะพบไม้พุ่มและลูกไม้ป่าขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น
3. ป่าเต็งรัง เป็นป่าโปร่งผลัดใบ พบบริเวณทางตอนใต้ของพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติฯ ขึ้นอยู่ในระดับความสูงประมาณ 300 - 700 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 40 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 20 ของพื้นที่ พันธุ์ไม้ที่พบโดยทั่วไปได้แก่ เหียง เต็ง รัง พะยอม รักใหญ่ ส้าน ฯลฯ ไม้พื้นล่างจะพบไผ่เพ็ก กระเจียวขาว ซึ่งเป็นไม้ประจำถิ่นขึ้นอยู่เป็นกลุ่มๆ ทั่วไป
4. ป่าทุ่งหญ้า เป็นป่าทุ่งหญ้าคาและท่งหญ้าเพ็ก พบโดยทั่วไปในพื้นที่คลอบคลุมพื้นที่ประมาณ 4 ตาราง-กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 2

ลักษณะสัตว์ป่า
เนื่องจากสภาพพื้นที่ที่มีความหลากหลายของชนิดป่าถึง 4 ประเภท ประกอบกับมีอาณาเขตติดต่อกับอุทยานแห่งชาติตาดโตน และอุทยานแห่งชาติไทรทอง ซึ่งเหมาะสมกับการดำรงชีวิตของสัตว์ป่ามากมาย จากการสำรวจทรัพยากรสัตว์ป่าในพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติภูแลนคา ได้แก่ สัตว์จำพวกนก จำนวน 57 ชนิด และสัตว์จำพวกเลี้ยงลูกด้วยนม จำนวน 3 ชนิด เช่น หมูป่า สุนัขจิ้งจอก อีเห็น เป็นต้น

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
อุทยานแห่งชาติภูแลนคา มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่ ตำบลบ้านหัน ตำบลสระโพนทอง ตำบลโนนกอก ตำบลซับสีทอง ตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกุดชุมแสง ตำบลคูเมือง อำเภอหนองบัวแดง ตำบลท่ามะไฟหวาน อำเภอแก่งค้อ ตำบลห้วยต้อน อำเภอเมืองชัยภูมิ ตำบลภูแลนคา อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ สภาพป่าเป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์ ประกอบไปด้วยแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าหลายชนิด มีจุดเด่นทางธรรมชาติที่น่าสนใจ เช่น จุดชมวิวภูแลนคา ผากล้วยไม้ หินปราสาท ประตูโขลง มอหินขาว เป็นต้น และการเดินทางเข้าไปเที่ยวชมก็สะดวก มีเนื้อที่ประมาณ 200.50 ตารางกิโลเมตร หรือ 125,312.50 ไร่ ความเป็นมา : สภาพพื้นที่ป่าที่กำหนดเป็นเขตป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 และ 7 มีนาคม 2535 ในเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติภูแลนคาด้านทิศเหนือ และป่าสงวนแห่งชาติภูแลนคาด้านทิศใต้ของท้องที่อำเภอเมือง อำเภอบ้านเขว้า อำเภอหนองบัวแดง และอำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ตามคำสั่งกรมป่าไม้ที่ 2262/2539 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2539 ได้ให้นายสุรชัย นายจำเริญ เจ้าพนักงานป่าไม้ 5 ส่วนอุทยานแห่งชาติ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติตาดโตน ให้ไปดำเนินการสำรวจ เบื้องต้นป่าสงวนดังกล่าว เพื่อจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้เข้าไปประสานงานกับทางจังหวัด ชัยภูมิ และจากการสำรวจเจ้าหน้าที่ได้ประสานงานกับหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน องค์กรต่าง ๆ ประชาชน และรวมถึงหน่วยงานป่าไม้ประจำจังหวัดชัยภูมิ และป่าไม้เขตนครราชสีมาที่เกี่ยวข้อง ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2539 ลงวันที่ 23 กันยายน 2539 ของคณะอนุกรรมการป้องกันและปราบปรามการลักลอบทำลายทรัพยากรป่าไม้ พิจารณาเห็นชอบในการกำหนดประกาศพื้นที่ป่าอนุรักษ์บางส่วน ในเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูแลนคาด้านทิศเหนือ และป่าสงวนแห่งชาติป่าภูแลนคาด้านทิศใต้ ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 92,500 ไร่ เพื่อจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ ตามหนังสือกองอุทยานแห่งชาติ ที่ กษ. 0712/พิเศษ ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2539 ได้มีมติเห็นชอบและให้การสนับสนุนที่กรมป่าไม้จะประกาศพื้นที่ป่าอนุรักษ์ดังกล่าว เป็นอุทยานแห่งชาติโดยเร็ว และมีมติแนวความคิดเห็นตรงกัน โดยให้ชื่อหน่วยงานใหม่นี้ว่า “อุทยานแห่งชาติภูแลนคา” ด้วยเหตุผลที่ว่าแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ ของอุทยานแห่งชาติแห่งใหม่นี้ตั้งอยู่ในเทือกเขาภูแลนคา และเป็นที่รู้จักกันดีของประชาชนโดยทั่วไป ซึ่งนายสถิตย์ สวินทร อธิบดีกรมป่าไม้ อนุมัติให้ใช้ชื่อ “อุทยานแห่งชาติภูแลนคา” เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2540
ต่อมาปี 2550 ได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดบริเวณที่ดินป่าภูแลนคาด้านทิศเหนือ และป่าภูแลนคาด้านทิศใต้ ในท้องที่ตำบลบ้านหัน ตำบลสระโพนทอง ตำบลโนนกอก ตำบลซับสีทอง ตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกุดชุมแสง ตำบลคูเมือง อำเภอหนองบัวแดง ตำบลท่ามะไฟหวาน อำเภอแก่งค้อ ตำบลห้วยต้อน อำเภอเมืองชัยภูมิ ตำบลภูแลนคา อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ เนื้อที่ประมาณ 200.50 ตารางกิโลเมตร หรือ 125,312.50 ไร่ ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนที่ 37 ก ลงวันที่ 27 กรกฎาคม 2550 จัดเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 108 ของประเทศ

ขนาดพื้นที่
125312.50 ไร่

หน่วยงานในพื้นที่
หน่วยพิทักษ์อุทยานฯที่ ภค.1 (ภูคี)
ที่ทำการอุทยานแห่งชาติภูแลนคา
หน่วยพิทักษ์อุทยานฯที่ ภค.2 (พานทอง)

ภาพแผนที่


ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะโดยทั่วไปของพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่สำรวจเป็นเทือกเขาภูแลนคา ภูเขียว ภูคำน้อย พื้นที่เป็นภูเขาสลับซับซ้อน และที่ราบสูง ซึ่งจะมีระดับความสูงตั้งแต่ประมาณ 200 ถึง 1,038 เมตร จากระดับน้ำทะเล จะมียอดภูคี ซึ่งเป็นยอดเขาที่มีความสูง สูงสุดของพื้นที่ โดยมีความสูงประมาณ 1,038 เมตร จากระดับน้ำทะเล พื้นที่ทางด้านทิศใต้จะเป็นพื้นที่ลาด ซึ่งจะอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ประมาณ 200 ถึง 700 เมตร และพื้นที่ทางด้านทิศเหนือจะเป็นพื้นที่ลาดชันมาก มีหน้าผาหุบเขาเป็นส่วนใหญ่

ลักษณะภูมิอากาศ
จัดอยู่ในภูมิอากาศฝนเมืองร้อนมี 3 ฤดู ได้รับอิทธิพลจากมรสุมประจำฤดู อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 27.66 องศาเซียส ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยทั้งปี 60 % ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,155.36

พืชพันธุ์และสัตว์ป่า
ลักษณะพันธ์ุพืช
จากสภาพพื้นที่เทือกเขาภูแลนคาที่มีระดับความสูงประมาณ 300 - 1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง จึงก่อให้เกิดสภาพป่าไม้ที่หลากหลายถึง 4 ประเภท ดังนี้
1. ป่าเบญจพรรณ เป็นป่าผสมผลัดใบ พบโดยทั่วไปบริเวณหน้าผาด้านทิศเหนือของพื้นที่ ในระดับความสูงประมาณ 300 - 800 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 96 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 48 ของพื้นที่ พันธุ์ไม้ที่พบโดยทั่วไปได้แก่ ตะแบก ประดู่ มะค่าโมง ตีนนก ไม้ไผ่ ฯลฯ
2.ป่าดิบแล้ง เป็นป่าไม้ผลัดใบ พบโดยทั่วไปตามร่องเขาและลำห้วย ในระดับความสูงประมาณ 400 - 1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 30 ของพื้นที่ พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ ไทร ตะแบก ประดู่ ตะเคียน ฯลฯ สำหรับไม้พื้นล่างจะพบไม้พุ่มและลูกไม้ป่าขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น
3. ป่าเต็งรัง เป็นป่าโปร่งผลัดใบ พบบริเวณทางตอนใต้ของพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติฯ ขึ้นอยู่ในระดับความสูงประมาณ 300 - 700 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 40 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 20 ของพื้นที่ พันธุ์ไม้ที่พบโดยทั่วไปได้แก่ เหียง เต็ง รัง พะยอม รักใหญ่ ส้าน ฯลฯ ไม้พื้นล่างจะพบไผ่เพ็ก กระเจียวขาว ซึ่งเป็นไม้ประจำถิ่นขึ้นอยู่เป็นกลุ่มๆ ทั่วไป
4. ป่าทุ่งหญ้า เป็นป่าทุ่งหญ้าคาและท่งหญ้าเพ็ก พบโดยทั่วไปในพื้นที่คลอบคลุมพื้นที่ประมาณ 4 ตาราง-กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 2

ลักษณะสัตว์ป่า
เนื่องจากสภาพพื้นที่ที่มีความหลากหลายของชนิดป่าถึง 4 ประเภท ประกอบกับมีอาณาเขตติดต่อกับอุทยานแห่งชาติตาดโตน และอุทยานแห่งชาติไทรทอง ซึ่งเหมาะสมกับการดำรงชีวิตของสัตว์ป่ามากมาย จากการสำรวจทรัพยากรสัตว์ป่าในพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติภูแลนคา ได้แก่ สัตว์จำพวกนก จำนวน 57 ชนิด และสัตว์จำพวกเลี้ยงลูกด้วยนม จำนวน 3 ชนิด เช่น หมูป่า สุนัขจิ้งจอก อีเห็น เป็นต้น

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
The forest The area covered by the local parish district facing an Tambon Nong Kok District Sub Golden Ban Dua. Bang Saphan Trang Bang Bang Khu Bua Daeng light. Tha Khro Kaeng Kho district Huayton Chaiyaphum Phu Lancashire Chaiyaphum. Chaiyaphum Forest is a forest that. Comprising the habitats of wildlife species. Natural features such interesting viewpoint Phu Pha Lancashire stone castle door horde stone white orchids and a trip into the park so it's convenient. An area of 200.50 square kilometers or 125,312.50 hectares Background: Protected Areas designated as forest conservation by the Cabinet on February 10 and March 7, 2535 in the area of Lancashire Mountain National Forest on the north side. And Lancashire Mountain National Forest on the south side of the city district. Chaiyaphum Nong Bua Daeng And Bang Saphan Chaiyaphum Orders the Forest Department 2262/2539 dated 13 December 2539, Mr. Surachai said blessed Forestry Officer 5 the National Park. Head of Tatton Park Proceed to explore Such preliminary Forest To establish a national park We have to coordinate with the offense, and the survey was coordinated with agency staff. Both public and private organizations and individuals, including Social Forestry in Chaiyaphum. Nakhon related fields and forests in the meeting on 1/2539, dated 23 September 2539 of the Committee Against Illegal destruction of forest resources. Consideration in determining announced some forest conservation. In the area of national forest Phu Lancashire in the north. Wild Mountain National Forest and the South Lancashire. It has an area of 92,500 hectares for the establishment of a national park. According to the National Division of practices. 0712 / Special dated 20 December 2539, the approval and support of the Forest Service to announce such forest conservation. The park soon And resolved along the same opinions. The name of this new agency. "The forest" on the grounds that the various tourist attractions of the new national park is located in the mountains Lancashire. And is well known by the general public. Which Mr.Satitphong Swindon Navy Chief of Forestry. Approved for use "The forest" on January 20, 2540 The year 2550 has determined the land area under forest mountain in the north Lancashire. Phu Lancashire and South Side. In Tambon Kut Sra Tambon Nong Kok District Sub Golden Ban Dua. Bang Saphan Trang Bang Bang Khu Bua Daeng light. Tha Khro Kaeng Kho district Huayton Chaiyaphum Phu Lancashire Chaiyaphum. Chaiyaphum Area of approximately 200.50 square kilometers or 125,312.50 hectares of the park. Which was published in the Government Gazette, Volume 124, No. 37, dated July 27, 2550 is National Park No. 108 of the country's size 125,312.50. Farm unincorporated areas ranger's regions. 1 (Katina) Post forest car park protection unit at T c. 2 (Phan) map the terrain characteristics typical of forest conservation to explore the mountain. Lancashire Mai Phu Phu Kham Noi area is mountain and plateau, which has an elevation ranging from about 200 to 1,038 meters above sea level, which is the key to the mountain peaks with height. Maximum of The height of about 1,038 meters above sea level. Area to the south is the slope. It is high above sea level and about 200 to 700 meters and the area to the north is a very steep slope. Cliffs, canyons, mostly , the weather held in the tropical rainy season 3 is influenced by seasonal monsoon. Average temperature of 27.66 degrees euthanasia average annual relative humidity is 60% of the annual average rainfall. 1155.36 vegetation and wildlife sanctuaries plant characteristics of the Lancashire area mountains at an altitude of approximately 300 - 1,000 meters above sea level. Thus causing a forest range to 4 categories: 1. mixed forest and mixed deciduous forests. Common area on the north side of the cliff. At an altitude of approximately 300 - 800 meters from the sea level. Covering an area of about 96 square kilometers Representing 48 percent of the common species include Baek Du Bon Nongtinnok bamboo etc. 2. dry. The deciduous forests Common along the groove, and the creek. At an altitude of approximately 400 - 1,000 meters above sea level and covers an area of about 60 square kilometers. Representing 30 percent of the species are found at Sai Baek Du Bon etc. For ground will find shrubs and forest-based massively lace 3. Deciduous forest is sparse. Found in the southern part of the area of the National Park. Depending on the altitude of approximately 300 - 700 meters above sea level. Covering an area of about 40 square kilometers Representing 20 percent of the common species are deciduous sal Hiang love big ground biomass, etc. will find bamboo Peggy Wood, a local white dick up into groups generally 4. wooded grassland. grass and utility Hygaepek Common in the area, covering an area of about 4 square - kilometer. Percentage 2 bestiality because the area has a variety of forest types to 4 categories and the border with Tatton Park. And Sai Thong National Park Suitable for the survival of wildlife. A survey of wildlife resources in the area of forest, such animals such as birds and 57 species of animals, such as mammals, 3 species such as wild boar, fox, weasel, and so on.




































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Phu laenkha National Park area is covered in the local parish house facing the district outdoor phon thong subdistrict. Non Kok District, absorb gold house district Dua kaset sombun district. Tambon Kut chum Saeng District moat Nong BUA Daeng District of tha mafai sweet kaeng Kho DistrictMueang Chaiyaphum District, province, Phu laenkha ban pho District State Forest is a forest abundance Consist of the habitats of many kinds of animals. The natural features of interest, such as point of view, Tatton PHA orchids.A herd of white stone door motors, etc., and journey to explore the conveniently, and has an area of approximately 200.50 square kilometers, or 125 312.50 Rai

history:The forest is a forest conservation by the cabinet on 10 7 March and 2535 ในเขตพื้นที่ Phu laenkha National Forest in the north. Phu laenkha National Forest and on the south side of the Mueang district.Nong BUA Daeng district and kaset sombun District, Chaiyaphum Province, according to the forest that 2262 / 2539 down on the day 13 December 2539 give you surachai You grow the officer 5 The Forest National Park. The Tatton National Park.Introduction to the forest To establish a national park. By to coordinate with the Chaiyaphum province and from the survey staff coordinate กับหน่วยงาน, both public and private organizations. Other people.Fields and forests, Nakhon Ratchasima related
.
.The first time 1 / 2539 dated September 23 2539 Subcommittee on prevention and suppression of smuggling, destruction of forest resources. Approval in determining announced some forest conservationPhu laenkha National Forest and south side, which has an area of approximately, 92500 farm to establish a national park. According to the book the National Park. (GAP).
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: